รหัสหนังสือ: 10305 ชื่อหนังสือ: คู่มือท่ออุตสาหกรรม
ISBN 9746860283
ผู้แต่ง อ.มานะศิษฏ์ พิมพ์สาร
ขนาด 18.5 x 26.0 ซ.ม.
จำนวนหน้า 407
กระดาษ ปอนด์
ราคา 280 บาท
คู่มือท่ออุตสาหกรรม เป็นหนังสือเกี่ยวกับ การปฏิบัติงานในระบบท่อ ที่มีความละเอียดเข้าใจง่าย อ่านแล้วสามารถนำไปปฏิบัติได้เลย เริ่มตั้งแต่ คณิตศาสตร์ในการคำนวณค่าต่างๆ ของท่อ เช่น การวัดมุม, ความยาว, ส่วนโค้ง การคำนวณหาระยะเยื้องศูนย์ ระยะท่อแนวนอน, การหามุมด้วยวิธีตรีโกณมิติ, การดัดท่อแบบต่างๆ เช่น การดัดมุมตั้งแต่ 15 – 540 องศา, การตัดด้วยเกลียว, การต่อท่อแบบหลบมุมตั้งแต่ 22 – 45 องศา, การต่อท่อแบบพิเศษ, การต่อท่อแบบโค้ง 90 องศา, การต่อท่อด้วยเกลียวขด เป็นวงกลมรอบถัง และท่อหลบเยื้อง
การเลเอาต์ท่อ สำหรับเชื่อมประกอบ เช่น การพันรอบท่อ มุมเปลี่ยนโค้ง, เส้นต่อท่อแบบต่างๆ การหาความยาวในการตัดท่อ ท่อลดขนาดเยื้องศูนย์แบบต่างๆ, การพิจารณานำท่อแข็ง และท่ออ่อนมาใช้งานอย่างได้ผล, การเลือกใช้วาล์วอย่างถูกต้อง และเหมาะสม, ลักษณะของหน้าแปลน ที่มีผลต่อระบบท่อและวาล์ว, การยึดแขวน และการหมุนรองท่อ โดยกล่าวถึงประเภทของ อุปกรณ์ยึดแขวน ลูกกลิ้ง – สปริงรับท่อ แขนค้ำ และแขนยึด
และยังมีเรื่องของ การหุ้มฉนวน, ท่อวัสดุฉนวน, ชนิดฉนวน, ปลอกหุ้มฉนวน, อุณหภูมิใช้งานฉนวน, การหุ้มท่อ, และการใช้งานโดยทั่ว
สารบัญ
บทที่ 1 คณิตศาสตร์
– มุมและการวัดมุม
– ความยาวส่วนโค้ง
– ฟังก์ชั่นของมุม
– อัตราส่วนตรีโกณมิติ
– วงกลม
– อัตราส่วนตรีโกณมิติที่เกี่ยวข้องกับระบบท่อ
– การหาระยะเยื้องศูนย์, ระยะท่อแนวนอน, ความยาวท่อทะแยง
– การหามุมด้วยวิธีตรีโกณมิติ
บทที่ 2 การดัดท่อ
– การดัดท่ออย่างง่าย มุมดัดตั้งแต่ 15 องศา ถึง 540 องศา
– ระยะวัดกลับและความยาวดัดโค้ง
– ระยะวัดกลับและมุมยาวดัดโค้งมุม 15 องศา
– ระยะวัดกลับและมุมยาวดัดโค้งมุม 22 1/2 องศา
– ระยะวัดกลับและมุมยาวดัดโค้งมุม 30 องศา
– ระยะวัดกลับและมุมยาวดัดโค้งมุม 45 องศา
– ระยะวัดกลับและมุมยาวดัดโค้งมุม 60 องศา
– ระยะวัดกลับและมุมยาวดัดโค้งมุม 72 องศา
– ระยะวัดกลับและมุมยาวดัดโค้งมุม 90 องศา
– ระยะวัดกลับและมุมยาวดัดโค้งมุม 112 1/2 องศา
– ระยะวัดกลับและมุมยาวดัดโค้งมุม 120 องศา
– ระยะวัดกลับและมุมยาวดัดโค้งมุม 135 องศา
– ระยะวัดกลับและมุมยาวดัดโค้งมุม 150 องศา
– ระยะวัดกลับและมุมยาวดัดโค้งมุม 180 องศา
– ระยะวัดกลับและมุมยาวดัดโค้งมุม 1 ลิปดา ถึง 180 องศา ที่รัศมีใดๆ
– การดัดท่อหลบ
– ดัดหลบมุม 15 องศา
– ดัดหลบมุม 22 1/2 องศา
– ดัดหลบมุม 30 องศา
– ดัดหลบมุม 45 องศา
– ดัดหลบมุม 60 องศา
– ดัดหลบมุม 72 องศา
– ดัดหลบมุม 90 องศา และท่อขนานกันสอง หรือมากกว่าสองท่อ มีระยะขนานห่างเท่ากัน
– ดัดหลบมุม 30 องศา – 60 องศา
– ดัดหลบมุม 60 องศา – 30 องศา
– ดัดหลบต่อเนื่อง
– ดัดหลบคู่
– ดัดหลบคู่มุม 30 องศา และ 45 องศา
– ดัดหลบคู่มุม 45 องศา และ 60 องศา
– มุมดัดหลบคู่มุม 60 องศา และ 60 องศา
– ดัดคร่อมมุม 180 องศา แบบอื่น
– ดัดโค้งมุม 180 องศา แบบอื่น
– ดัดหลบเดี่ยวและดัดโค้ง 1/4 วงกลมมุม 210 องศา
– ดัดคร่อมมุม 240 องศา
– ดัด 3/4 วงกลม (270 องศา) หรือดัดไซฟอน
– ดัดหลบเดี่ยวแบบตัวยู มุม 270 องศา
– ดัดหลบเดี่ยวแบบตัวยู มุม 300 องศา
– ดัดวงกลม มุม 360 องศา
– ดัดวงกลม 90-360 องศา
– ดัดรับการขยายตัวแบบตัวยู มุม 480 องศา
– ดัดรับการขยายตัวแบบตัวยู มุม 540 องศา
– วิธีการดัดท่อ
– ดัดโค้งเปลี่ยนมุม 90 องศา ท่อเดี่ยวมุมดัด 45 องศา สองมุม
– ดัดโค้งเปลี่ยนมุม 90 องศา ท่อเดี่ยว มีมุมดัดโค้ง 30 องศา สามมุม
– การดัดท่อเลี้ยวมุม 90 องศา
– การดัดท่อรอบวงกลม
– การดัดจีบ
บทที่ 3 การต่อประกอบท่อด้วยเกลียว
– เกลียวท่อ
– การวัดระยะความยาวท่อ
– การต่อประกอบท่อหลบ
– การต่อท่อหลบมุม 22 1/2 องศา ท่อขนานกันสองท่อหรือมากกว่า มีระยะห่างเท่ากัน
– การต่อท่อหลบมุม 30 องศา ท่อขนานกันสองท่อหรือมากกว่า มีระยะห่างเท่ากัน
– การต่อท่อหลบมุม 45 องศา ท่อขนานกันสองท่อหรือมากกว่า มีระยะห่างเท่ากัน
– การต่อท่อหลบมุม 60 องศา ท่อขนานกันสองท่อหรือมากกว่า มีระยะห่างเท่ากัน
– หาจุดเริ่มต้นท่อหลบมุม 45 องศา รอบถัง
– การต่อท่อหลบมุม 45 องศา หลีกสิ่งกีดขวางที่เป็นมุมฉาก
– การต่อท่อหลบมุม 45 องศา รอบถังสามท่อ มีระยะห่างขนานเท่ากัน
– การต่อท่อหลบมุม 45 องศา มีระยะห่างขนานเท่ากัน
– การต่อท่อหลบมุม 45 องศา หลีกสิ่งกีดขวางขนานกันสามท่อ
– การต่อท่อหลบมุม 45 องศา มีระยะห่างขนานไม่เท่ากัน
– การต่อท่อหลบมุม 45 องศา รอบถังที่วางอยู่ในมุม
– การต่อท่อหลบแบบพิเศษ
– การต่อท่อหลบโค้ง 90 องศา สองท่อมีระยะห่างขนานเท่ากัน
– การต่อท่อด้วยเกลียวขดเป็นวงกลมรอบด้านในและนอกถัง
– ท่อหลบเยื้อง
บทที่ 4 การเลย์เอาต์ท่อสำหรับเชื่อมประกอบ
– การพันรอบท่อ
– การแบ่งผิวรอบนอกออกเป็นสี่ส่วนเท่าๆ กัน
– มุมเปลี่ยนโค้ง
– การเลย์เอาต์เส้นต่อท่อสองชิ้นประกอบมุมงอ 90 องศา
– การเลย์เอาต์เส้นต่อท่อสองชิ้นประกอบมุมงอ 45 องศา
– การเลย์เอาต์เส้นต่อท่อสี่ชิ้นประกอบมุมงอ 90 องศา
– การหาความยาวตัดท่อสามชิ้นมุมงอ 90 องศา
– การหาความยาวตัดท่อสี่ชิ้นมุมงอ 90 องศา
– การหาความยาวตัดท่อประกอบมุมงออื่น
– การตัดบากท่อสามชิ้นประกอบหลบมุม 90 องศา
– การตัดบากประกอบท่อเป็นวงกลม
– การเลย์เอาต์เส้นตัดบากประกอบท่อขนาดใหญ่ ด้วยวิธีแบ่ง 16 ส่วน
– สามทาง
– สามทางลดขนาด
– สามทางท่อแยกเอียง
– สามทางท่อแยกเอียงลดขนาด
– สามทางวาย (Y)
– ท่อลดขนาด
– ท่อลดขนาดเยื้องศูนย์
– ท่อลดเยื้องศูนย์แบบตัดสองชิ้น
– วิธีการทำฝาปิดปลายท่อ
– การประกอบท่อจากข้องอแบบเชื่อมมุม 90 องศา
– การเลย์เอาต์เหล็กฉากทำแขนรองท่อ
– การเลย์เอาต์รูเจาะใส่สลักเกลียวสำหรับหน้าแปลน
– การเลย์เอาต์ประเก็นวงแหวน
– ขนาดลวดสลักเกลียวยูที่ใช้แขวนท่อ
บทที่ 5 ท่อแข็งและท่ออ่อน
– ท่อแข็งและอ่อนประเภทโลหะ
– มาตรฐานและการเลือกใช้ท่อเหล็กกล้า
– การคำนวณหา Schedule number
– ความหนาผนังท่อ
– การเลือกใช้งานท่ออุตสาหกรรม
– เครื่องหมายแสดงบนแนวท่อ
บทที่ 6 วาล์ว
– หน้าที่ของวาล์ว
– ประเภทของวาล์ว
– การเลือกใช้วาล์ว
– วัสดุวาล์ว
– ส่วนประกอบของก้านวาล์ว
– รายละเอียดเกี่ยวกับวาล์ว
– การต่อวาล์ว
– ชนิดของวาล์ว
บทที่ 7 หน้าแปลน
– ชนิดของหน้าแปลน
– ชนิดของผิวหน้าแปลน
– ปะเก็น
– วิธีการขันแน่นสลักเกลียวยึดหน้าแปลน
บทที่ 8 การยึดแขวนและหนุนรองท่อ
– ประเภทอุปกรณ์ยึดแขวนและหนุนรองท่อ
– อุปกรณ์ยึดแขวนท่ออย่างง่าย
– ลูกกลิ้งรับท่อ
– สปริงรับท่อ
– การเลือกปริงรับภาระแปรผัน
– แขนค้ำและแขนยึด
– สนับเบอร์
– แท่นรองรับท่อ
– แซดเดิลส์
– ลวดแขน
– ระยะห่างในการยึดแขวนและหนุนรองท่อ
บทที่ 9 การหุ้มฉนวนท่อ
– การสูญเสียความร้อน
– คุณสมบัติวัสดุฉนวน
– ชนิดฉนวน
– วัสดุฉนวน
– ปลอกหุ้มฉนวน
– คุณสมบัติวัสดุปลอกหุ้มฉนวน
– อุณหภูมิใช้งานฉนวน
– การใช้งานฉนวน
– การหุ้มฉนวนท่อ
– การใช้งานทั่วไป
– ตัวอย่างการหุ้มฉนวนท่อและอุปกรณ์ท่อ
– การหุ้มฉนวนข้อต่อ วาล์ว หน้าแปลน และคัปปลิง
– ปลอกหุ้มและความเรียบผิว
– ความหนาฉนวนท่อ
– การเลือกฉนวนความร้อน
ภาคผนวก
บรรณานุกรม