รหัสหนังสือ: 11302 ชื่อหนังสือ: การจัดการบำรุงรักษาสำหรับงานอุตสาหกรรม
ISBN: 9746860968
ผู้แต่ง: โกศล ดีศีลธรรม
พิมพ์ครั้งที่ : 2/2551
ขนาด: 18.5 x 26.0 ซ.ม.
จำนวนหน้า: 226
ราคา 280 บาท
ลด 40% เหลือ 168 บาท
หนังสือการจัดการบำรุงรักษาสำหรับงานอุตสาหกรรม เรียบเรียงขึ้นเพื่อเป็นคู่มือสำหรับผู้ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็น ผู้จัดการโรงงาน วิศวกร ที่ปรึกษา อีกทั้งยังเป็นหนังสือที่ใช้ประกอบการศึกษา สำหรับนิสิต นักศึกษา วิศวกรรมศาสตร์ เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการทำงานในภาคอุตสาหกรรม เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติสำหรับการลดหรือป้องกันไม่ให้เครื่องจักรเกิดการขัด ข้อง ซึ่งวิธีการที่นำมาใช้ คือ การบำรุงรักษาอย่างถูกต้องเหมาะสมด้วยวิธีการจัดการที่ดี เนื้อหาของหนังสือเล่มนี้ ประกอบด้วย แนวคิดวิศวกรรมการบำรุงรักษา, การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน, การจัดทำแผนบำรุงรักษา, วิศวกรรมความน่าเชื่อถือ, การบริหารอะไหล่สำหรับงานบำรุงรักษา, ปัจจัยค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา, เทคนิคการป้องกันและแก้ไขการสึกหรอ, ต้นทุนวงจรอายุ, การพัฒนาระบบบำรุงรักษา, การบำรุงรักษาเชิงวางแผน, TPM การบำรุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม, เส้นทางสู่ความสำเร็จการดำเนินโครงการ TPM, TPM กับการพัฒนาประสิทธิผลสายการผลิต, บทบาทกิจกรรม 5 ส กับการบำรุงรักษาด้วยตนเอง ฯลฯ ด้วยเนื้อหาที่ครอบคลุมนี้เอง หนังสือเล่มนี้จึงเหมาะกับการจัดงานด้านงานบำรุงรักษาอย่างแท้จริง
สารบัญ
แนวคิดกวิศวกรรมบำรุงรักษา
- แนวคิดการจัดการบำรุงรักษา
- สาเหตุหลักของการเกิดปัญหาเครื่องจักร
- ประเภทของการบำรุงรักษา
- องค์ประกอบของการบำรุงรักษาที่มีผลประสิทธิผล
- วิศวกรรมการออกแบบกับงานบำรุงรักษา
- ความสำคัญของสารสนเทศการบำรุงรักษา
- การสุ่มตัวอย่างงาน
การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
- การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
- เป้าหมายหลักของการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
- แนวคิดการขัดข้องเป็นศูนย์ (Zero Breakdown Concept)
- การบำรุงรักษาเชิงแก้ไข (Corrective Maintenance)
- การบำรุงรักษาเชิงคาดการณ์
- แผนการหยุดเครื่อง
การจัดทำแผนบำรุงรักษาเครื่องจักร
- กิจกรรมที่เกี่ยวข้องการบำรุงรักษา
- การประเมินเพื่อจัดทำนโยบายการบำรุงรักษา
วิศวกรรมความน่าเชื่อถือ
- แนวคิดการทดสอบอายุ
- จะเขียนแผ่นข้อกำหนดเฉพาะของความน่าเชื่อถืออย่างไร
- จะทำการคำนวณเพื่อวัดค่าความน่าเชื่อถืออย่างไร
- การคำนวณค่าเวลาเฉลี่ยการชำรุด
- แนวทางคำนวณค่าเวลาเฉลี่ยจนกระทั่งเกิดความชำรุด
- แนวทางคำนวณอัตราความเสี่ยง
- แนวทางการคำนวณหาความพร้อมของกระบวนการ
- การคำนวณหาค่าความน่าเชื่อถือรวม
- การประเมินความมีประสิทธิผลของระบบ
- การจัดทำมาตรฐาน
- ความน่าเชื่อถือของอะไหล่
- การตรวจสอบอะไหล่
- การวิเคราะห์คุณค่า
- การเพิ่มคุณค่า
- ดัชนีคุณค่า
- การวางแผนอะไหล่
- การจัดหาอะไหล่
- การบริการหลังการขาย
- การควบคุมความล้าสมัยของอะไหล่
- สาเหตุของปัญหาการล้นสต็อก
ปัจจัยค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา
เทคนิคการป้องกันและแก้ไขการสึกหรอ
- การตรวจติดจับความชำรุด
- การฟื้นสภาพชิ้นส่วนที่สึกหรอ
- เทคนิคแก้ไขปัญหาการสึกหรอ
- การใช้ความร้อนเพื่อการฟื้นสภาพจากการสึกหรอ
- เทคนิคการเชื่อม
- การเคลือบด้วยผงฝุ่น (Powder coatings)
- เทคโนโลยีการฉีดพ่นด้วยความร้อน
ต้นทุนวงจรอายุ
- แนวทางพื้นฐานสำหรับการออกแบบต้นทุนวงจรอายุ
- วิธีการทั่วไปสำหรับการออกแบบ LCC
- การออกแบบ LCC ภายใต้ความไม่แน่นอน
- การทบทวนมาตรฐานการออกแบบ
การพัฒนาระบบบำรุงรักษาอย่างเป็นระบบ
- แนวคิดการจัดการเครื่องจักรตามแนวทางของ TPM
- วัตถุประสงค์ของการจัดการเครื่องจักร
- แนวทางจัดการอย่างมีประสิทธิผล
- ประเด็นทางด้านเทคนิคและการจัดการ
- ขั้นตอนและวิธีการสำหรับการจัดการบำรุงรักษา
- แนวทางเศรษฐศาสตร์กับการประเมินการออกแบบ
แนวทางดำเนินการบำรุงรักษาเชิงวางแผน
- การกำหนดเป้าหมายสำหรับการบำรุงรักษาเชิงวางแผน
- มาตรฐานการบำรุงรักษา
- การลดค่าใช้จ่ายการบำรุงรักษา
กลยุทธ์สร้างความเชื่อมั่นการบำรุงรักษา
- รูปแบบการบำรุงรักษาและการตรวจสอบ (Maintenance and inspection modeling)
- แนวโน้มกลยุทธ์บำรุงรักษา
- การตรวจสอบบนฐานความเสี่ยง
- การบำรุงรักษาโดยมุ่งความน่าเชื่อถือเป็นศูนย์กลาง
- มาตรฐานเกณฑ์การคัดเลือกนโยบายการจัดการความชำรุดเสียหาย
แนวทางการจัดซื้อเครื่องจักรอย่างมีประสิทธิผล
- การวางแผน
- การเลือกเครื่องจักร
- การวางแผนล่วงหน้า
- การตัดสินใจการลงทุนจัดซื้อ
- การวิเคราะห์ต้นทุนวงจรอายุ
- ประเด็นที่ควรพิจารณาในการจัดหาและจัดซื้อ
- บทบาทการพิจารณาของฝ่ายจัดซื้อ
การประเมินปัจจัยทางเศรษฐศาสตร์สำหรับการจัดหาเครื่องจักร
- อัตราชั่วโมงการทำงาน
- ค่าใช้จ่ายของการเป็นเจ้าของ
- ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน
- แนวทางประเมินค่าใช้จ่าย
- เหตุผลและความจำเป็นในการเปลี่ยนทดแทนอุปกรณ์
- นโยบายการเปลี่ยนทดแทนอุปกรณ์
TPM : การบำรุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม
- การดำเนิน TPM และกิจกรรม การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
- การปรับปรุงเฉพาะเรื่อง (Kobetsu-Kaizen)
- การบำรุงรักษาด้วยตนเอง (Autonomous maintenance)
- แนวทางการจัดทำมาตรฐานเพื่อป้องกันการเกิดความสูญเสีย
เส้นทางสู่ความสำเร็จการดำเนินโครงการ TPM
- การเก็บสารสนเทศ
- การเริ่มตรวจสอบและการนำเสนอ
- การฝึกอบรมภายใน
- การฝึกอบรมให้แก่ทีมงานศึกษาความเป็นไปได้
- การศึกษาความเป็นไปได้
- การนำเสนอผลการศึกษาความเป็นไปได้
- การดำเนินโครงการนำร่อง
- การดำเนินกิจกรรมทั่วทั้งโรงงาน
- การตรวจสอบเบื้องต้น
- การตรวจสอบความก้าวหน้า
- การออกใบรับรอง
- รางวัล TPM
TPM กับการพัฒนาประสิทธิผลสายการผลิต
- บทบาท TPM ต่อการพัฒนาสายการผลิต
- การจัดระเบียบในสถานที่ทำงาน
- การสร้างประสิทธิภาพสายการผลิต
- การสร้างความน่าเชื่อถือให้กับสายการผลิต
- การพัฒนาความสามารถบุคลากร
TPM สำหรับการปรับปรุงงานสำนักงาน
- แนวทางระบุความสูญเสียสำหรับ TPM สำนักงาน
- แนวทางการทำการเทียบเคียง (Benchmarking)
- การขยายขอบเขตกิจกรรมไปยังห่วงโซ่อุปทาน
บทบาทกิจกรรม 5 ส กับ การบำรุงรักษาด้วยตนเอง
- เป้าหมายหลักของกิจกรรม 5 ส
- องค์ประกอบที่สำคัญของการดำเนินกิจกรรม 5 ส
- หลักการและแนวคิดในการทำ ส สะอาด
- การติดตามผลการดำเนินกิจกรรม 5 ส
- จากกิจกรรม 5 ส สู่การบำรุงรักษาด้วยตนเอง
แนวคิดการวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร
- มาตรวัดที่เกี่ยวข้อง
- ประสิทธิผลเครื่องจักรโดยรวม (OEE)
- ความสูญเสียหลักทั้ง 6 (Six Big Losses)
กรณีศึกษา : การวัดประสิทธิผลโดยรวม
แนวทางลดเวลาการตั้งเครื่องอย่างมีประสิทธิผล
- แนวทางการตั้งเครื่อง
- ผลของการปรับปรุงการตั้งเครื่อง
- แนวทางการลดเวลาสำหรับการตั้งเครื่อง
- แนวทางของ SMED สำหรับลดเวลาการตั้งเครื่อง
- เทคนิคสำหรับการลดเวลาตั้งเครื่อง
- การแยกกิจกรรมการตั้งเครื่องภายนอกและภายใน
- การปรับปรุงการตั้งเครื่องภายใน
- การปรับปรุงการตั้งเครื่องภายนอก
- โครงการลดเวลาการตั้งเครื่อง
- ทีมงานลดเวลาการตั้งเครื่อง
- การสร้างสรรค์และคัดเลือกความคิด
- การไคเซ็น
การวางแผนงาน : ปัจจัยแห่งการบำรุงรักษา
- ผู้มีบทบาทสำคัญในการจัดทำแผนบำรุงรักษา
- ทักษะที่จำเป็นสำหรับนักวางแผนบำรุงรักษา
- การวางแผนและการจัดทำกำหนดการ
- การไหลของงาน
- จะวางแผนงานกันอย่างไร
- การสร้างแผนงาน
- มาตรวัดทางด้านทรัพยากรของปัจจัยนำเข้า
- มาตรวัดการดำเนินงาน
- ตัววัดผลการบำรุงรักษา
การวางแผนบำรุงรักษาเชิงคุณภาพ
- การสนับสนุนการบำรุงรักษาเชิงวางแผน
- จากการบำรุงรักษาตามฐานเวลา ก้าวสู่การบำรุงรักษาตามสภาพ
- การบำรุงรักษาที่ไม่ได้วางแผน
- บทบาทบุคลากรบำรุงรักษา
- การลดเวลาการบำรุงรักษาและการซ่อมแซม
- การป้องกันความบกพร่องไม่ให้เกิดขึ้นซ้ำ
- การวิเคราะห์ความบกพร่องชิ้นส่วน
- การขจัดปัญหาเครื่องว่างและการหยุดเครื่องเล็กน้อย
- การดำเนินการปรับปรุง
- การสร้างความน่าเชื่อถือให้กับเครื่องจักร
- การรับประกันคุณภาพงานบำรุงรักษา
ระบบสารสนเทศงานบำรุงรักษา
- CMMS ทำงานอย่างไร
- ทางเลือกสำหรับ SME
- ปัจจัยพิจารณาสำหรับการเลือก CMMS
- สถาปัตยกรรมสำหรับสนับสนุน CMMS
- แนวทางศึกษาและการติดตั้ง CMMS
- ทำไมโครงการ CMMS จึงล้มเหลว
- การบูรณาการ CMMS กับ ระบบการตรวจติดตามสภาพ