รหัสหนังสือ: 11305 ชื่อหนังสือ: การบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้
ISBN 9789746861311
ผู้แต่ง เอ็มแอนด์อี บจ.
ขนาด 18.5 x 26.0 ซ.ม.
จำนวนหน้า 168
ผู้แต่ง สุภนิติ แสงธรรม
ราคา 300 บาท
หนังสือการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ (Reliability Centered Maintenance; RCM) มีบทบาทสำคัญต่อความสำเร็จของอุตสาหกรรมการบินพาณิชย์มาตลอดกว่า 40 ปี ช่วยเพิ่มความเชื่อถือได้ของเครื่องบิน ให้ทำการบินได้อย่างปลอดภัย อีกทั้งยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาได้อย่างมากมาย นอกจากนี้ RCM ยังถูกนำไปใช้กับหน่วยงานทางทหารของสหรัฐอเมริกา และในประเทศอื่นๆ ด้วย
ทุกวันนี้ อุตสาหกรรมการผลิตและบริการทั่วโลกได้นำ RCM มาใช้ด้วยเช่นกัน เพื่อเพิ่มความเชื่อถือให้แก่สินทรัพย์ และช่วยลดค่าใช้จ่ายการบำรุงรักษาสินทรัพย์เหมือนกับอุตสาหกรรมการบิน
หนังสือเล่มนี้จะช่วยให้ผู้อ่านเกิดความรู้ในการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นการสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถ และศักยภาพในการแข่งขันให้กับภาคอุตสาหกรรมการผลิตและบริการ ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจและหน่วยงานทางด้านความมั่นคง ตลอดจนสนับสนุนการจัดการด้านความปลอดภัยในกระบวนการผลิตของกรมโรงงานและการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
สารบัญ
บทที่ 1 แนะนำการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้
1.1 การบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้คืออะไร
1.2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อถือได้ของสินทรัพย์
1.3 ผลิตผลที่ได้จากการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้
1.4 วิวัฒนาการของการบำรุงรักษาในอุตสาหกรรมการบินพาณิชย์
1.5 ประวัติการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้
1.6 เจ็ดคำถามพื้นฐานของการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้
1.7 กระบวนการทำการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้
1.8 ประโยชน์ที่ได้รับจากการบำรุงรักษาเน้นความเชื่อถือได้
บทที่ 2 บริบทที่ใช้งาน
2.1 บริบทที่ใช้งานคืออะไร
2.2 บริบทที่ใช้งานควรจะเขียนเมื่อใด
2.3 บริบทที่ใช้งานจะประกอบไปด้วยอะไรบ้าง
บทที่ 3 หน้าที่
3.1 ความสำคัญของการระบุหน้าที่
3.2 ประเภทของหน้าที่
3.3 ลักษณะของหน้าที่
3.4 มาตรฐานสมรรถนะ
3.5 การเขียนหน้าที่
3.6 การบันทึกหน้าที่
บทที่ 4 การล้มเหลวของหน้าที่
4.1 การล้มเหลวของหน้าที่คืออะไร
4.2 ลักษณะการล้มเหลวของหน้าที่
4.3 ขอบเขตจำกัดด้านบนและด้านล่าง
4.4 การบันทึกการล้มเหลวของหน้าที่
บทที่ 5 รูปแบบความเสียหาย
5.1 รูปแบบความเสียหายคืออะไร
5.2 การเขียนรูปแบบความเสียหาย
5.3 การระบุรูปแบบความเสียหาย
5.4 ระดับสาเหตุของรูปแบบความเสียหาย
5.5 หมวดหมู่รูปแบบความเสียหาย
5.6 การบันทึกรูปแบบความเสียหาย
บทที่ 6 ผลที่เกิดจากความเสียหาย
6.1 ผลที่เกิดจากความเสียหายคืออะไร
6.2 การระบุผลที่เกิดจากความเสียหาย
6.3 การบันทึกผลที่เกิดจากความเสียหาย
บทที่ 7 ผลพวงความเสียหาย
7.1 ผลพวงความเสียหายคืออะไร
7.2 แผนผังการตัดสินใจ RCM
7.3 ตารางการตัดสินใจ RCM
7.4 ผลพวงความเสียหายกับประเภทรูปแบบความเสียหาย
7.5 ผลพวงความเสียหายกับอุปกรณ์ป้องกันแบบปลอดภัยเมื่อชำรุด
7.6 ผลพวงความเสียหายกับอุปกรณ์ป้องกันแบบไม่ปลอดภัยเมื่อชำรุด
7.7 การประเมินผลพวงความเสียหาย
7.8 เกณฑ์การพิจารณาความคุ้มค่าของการบำรุงรักษา
7.9 การบันทึกผลพวงความเสียหาย
บทที่ 8 กลยุทธ์เชิงรุก
8.1 กลยุทธ์เชิงรุก
8.2 เกณฑ์การพิจารณาการบำรุงรักษาเชิงรุก
8.3 การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน : การกำหนดเวลาเพื่อฟื้นฟู และการกำหนดเวลาเพื่อเปลี่ยนทิ้ง
8.4 การบำรุงรักษาเชิงพยากรณ์ : การบำรุงรักษาตามสภาพ
8.5 การบำรุงรักษาแบบผสานกัน
8.6 การเลือกกลยุทธ์เชิงรุก
8.7 การบันทึกกลยุทธ์เชิงรุก
บทที่ 9 กลยุทธ์เพิกเฉย
9.1 การค้นหาความเสียหาย
9.2 การไม่กำหนดแผนการบำรุงรักษา
9.3 การออกแบบใหม่
9.4 การเลือกกลยุทธ์เพิกเฉย
9.5 การบันทึกกลยุทธ์เพิกเฉย
บทที่ 10 การตรวจสอบผลการวิเคราะห์และการนำไปใช้
10.1 การตรวจสอบผลการวิเคราะห์ RCM
10.2 ทำงานที่ทำเพียงครั้งเดียว
10.3 วางแผนการบำรุงรักษา