หนังสือการวัดและการควบคุม ชุดที่ 2

รหัสหนังสือ: 12303 ชื่อหนังสือ: การวัดและการควบคุม ชุดที่ 2
ISBN    : 9789746861205
ผู้แต่ง: รวมบทความจากวารสารเทคนิคและวารสารEC
สำนักพิมพ์    : เอ็มแอนด์อี
ขนาด    : 18.5 x 26.0 ซม.
จำนวน    : 410 หน้า
ชนิดปก    : ปกอ่อน
ชนิดกระดาษ: ปอนด์
เดือนปีที่พิมพ์: มีนาคม 2555
ราคา 320 บาท ลดพิเศษ 40% เหลือ 192 บาท

รวมบทความจากวารสารเทคนิคและวารสารEC ซึ่งประกอบด้วย case study และ คำนวณ

สารบัญ

เครื่องมือวัด

  • เครื่องมือวัดและแสดงผล แบบมือถือใช้อย่างไรจึงปลอดภัย และมีประสิทธิผล
  • การออกแบบมิเตอร์วัดความร้อนโดยใช้ PIC16F91X
    • หลักการวัดพื้นฐาน
    • การออกแบบวงจร
  • ตัวตรวจวัดรังสี (1)
    • ประเภทของรังสี
    • ชนิดของตัวตรวจวัดรังสี
  • ตัวตรวจวัดรังสี (2)
    • แนวทางการประยุกต์ใช้งาน
    • ตัวอย่างโครงงาน
  • ตัวตรวจวัดรังสี (3)
    • ประเภทของรังสี
    • การประยุกต์ใช้หัววัดรังสีแบบ Geiger Muller
    • ขั้นตอนการทำงานของหัววัดรังสี
  • ตัวตรวจวัดรังสี (4)
    • แนวทางการวัดปริมาณรังสี
    • การออกแบบวงจร
    • การปรับสภาพแรงดัน
  • ตัวตรวจวัดรังสี (5)
    • วงจรสมมูล
    • การนำสัญญาณออกทางด้านแอโนด
    • ผลที่เกิดขึ้นในวงจร
    • รูปแบบการเชื่อมต่อสัญญาณ

การวัด

  • การวัดและควบคุมอุณหภูมิ (1) เทอร์โมคัปเปิล
    • การเปลี่ยนพลังงานความร้อนให้กลายเป็นพลังงานไฟฟ้าโดยใช้เทอร์โมคัปเปิล
  • การวัดและควบคุมอุณหภูมิ (2) RTD และเทอร์มิสเตอร์
  • การวัดและควบคุมอุณหภูมิ (3) (Integrated Circuit) ICตรวจวัดอุณหภูมิ
  • เคล็ดไม่ลับสำหรับการวัดสัญญาณไฟฟ้า
    • การเลือกใช้ออสซิลโลสโคป และโพรบวัด
    • ผลกระทบเนื่องจากค่าความจุไฟฟ้าแผงภายในโพรบวัด

เซนเซอร์

  • เซนเซอร์ตรวจวัดการไหลและอัตราการไหล
    • ประเภทการตรวจวัดการไหล
    • ประเภทเซนเซอร์ตรวจวัดการไหล
    • ประเภทอัตราการไหล
  • การประยุกต์ใช้งานเซนเซอร์ในระบบควบคุมกระบวนการ
    • ตัวอย่างการประยุกต์ใช้งาน
  • เซนเซอร์ไร้สาย (1)
    • เซนเซอร์ที่สามารถวัดอุณหภูมิและระดับของเหลวส่งผ่านข้อมูลไร้สาย
  • เซนเซอร์ไร้สาย (2)
    • การทำงานในส่วนมาสเตอร์สเตชั่น
    • การจัดการโปรโตคอลในการสื่อสารข้อมูล
    • โปรแกรมประยุกต์
  • แนวทางการเลือกใช้วงจรปรับแต่งสภาพสัญญาณที่ได้จากเซนเซอร์ (1)
    • การประยุกต์ใช้งานเซนเซอร์
  • แนวทางการเลือกใช้วงจรปรับแต่งสภาพสัญญาณที่ได้จากเซนเซอร์ (2)
    • วงจรพื้นฐานสำหรับปรับแต่งสภาพสัญญาณ output ที่ได้จาก sensor
    • วงจรปรับแต่งสภาพสัญญาณ สำหรับ sensor ที่ให้สัญญาณ output ออกมาเป็นกระแสไฟฟ้า
    • วงจรปรับแต่งสภาพสัญญาณ สำหรับ sensor ที่ให้สัญญาณ output ออกมาเป็นค่าความต้านทานไฟฟ้า
    • วงจรปรับแต่งสภาพสัญญาณ สำหรับ sensor ที่ให้สัญญาณ output ออกมาเป็นค่าความจุไฟฟ้า
    • วงจรปรับแต่งสภาพสัญญาณ สำหรับ sensor ที่ให้สัญญาณ output ออกมาเป็นประจุไฟฟ้า
  • การออกแบบวงจรออสซิลเลเตอร์สำหรับเซนเซอร์อุณหภูมิ RTD

การควบคุม

  • Intelligent Device
    • อุปกรณ์ที่สามารถทำงานร่วมกับเครือข่ายจะช่วยให้ควบคุมการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพลดค่าใช้จ่าย
  • NetLinx
    • เทคโนโลยีปรับเปลี่ยนปัญหาเป็นโอกาส
    • การทำงานของ Logix และ NetLinx
  • ระบบควบคุมอัตโนมัติ
    • โครงสร้างของระบบควบคุมอัตโนมัติ
  • การควบคุมอุณหภูมิ ความดัน และกำจัดการกลั่นตัวของไอน้ำ
    • การกำจัดไอน้ำกลั่นตัว
    • การออกแบบและเลือกใช้อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิอย่างเหมาะสม
    • การออกแบบและเลือกใช้อุปกรณ์ควบคุมความดันไอน้ำอย่างเหมาะสม
  • ชุดควบคุมการเคลื่อนที่
  • ระบบควบคุมเครือข่าย NCS
    • ความแตกต่างระหว่าง NCS กับ PLC
    • ความแตกต่างระหว่าง NCS กับ DCS
    • ความแตกต่างระหว่าง FCN กับ FCJ
  • การควบคุมกระบวนการ และอุปกรณ์ควบคุมอัตโนมัติ
    • การควบคุมกระบวนการแบบต่างๆ

ไมโครคอนโทรลเลอร์

  • การควบคุมเครื่องพิมพ์ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์
  • การควบคุมและส่งข้อมูลด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ผ่าน RS232

การประยุกต์ใช้งาน

  • ระบบเครือข่ายควบคุมอัตโนมัติภายในบ้าน
  • ระบบควบคุมอุปกรณ์เครื่องใช้ภายในบ้านแบบอัตโนมัติ
  • มารู้จักกับการควบคุมแบบ PID กันเถอะ
  • การปรับค่าพารามิเตอร์ในกระบวนการควบคุมแบบพีไอดี
  • แนวทางไปสู่ระบบการควบคุมอัจฉริยะ
  • โอทีเอและการประยุกต์ใช้งาน
  • ระบบหยุดทำงานแบบฉุกเฉิน ESD ตามมาตรฐาน IEC 61508/61511
  • การออกแบบวงจรเทอร์โมคัปเปิลอย่างง่าย