รหัสหนังสือ: 12013 ชื่อหนังสือ: พื้นฐานวิศวกรรมการส่องสว่าง เล่ม 1
ISBN: 9746860593
ผู้แต่ง: อ.ไชยะ แช่มช้อย
ขนาด: 18.5 x 26.0 ซ.ม.
จำนวนหน้า: 388
ราคา 320 บาท ลดพิเศษ 40% เหลือ 192 บาท
การส่องสว่างไม่ใช่เป็นเพียงการเลือกหลอดไฟ และดวงโคมเท่านั้น แต่ยังรวมถึงประสิทธิภาพ และคุณภาพด้วย
การเข้าใจอย่างถ่องแท้ถึงพื้นฐานของ วิศวกรรมการส่องสว่าง จะช่วยทำให้การเรียนรู้ และทำความเข้าใจในเรื่องของ วิศวกรรมส่องสว่างขั้นสูง เป็นไปอย่างง่ายดาย สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานอย่างกว้างขวาง นำมาซึ่งระบบส่องสว่างที่มีประสิทธิภาพสูง และมีคุณภาพดีตามที่ปรารถนา
หนังสือเล่มนี้มีเนื้อหาต่างไปจาก หนังสือวิศวกรรมการส่องสว่าง ฉบับภาษาไทยอื่นๆ โดยเล่มนี้ได้อธิบายถึง พื้นฐาน หรือที่มาในเรื่องต่างๆ ของวิศวกรรมการส่องสว่าง เช่น หลักการวัดการกระจายแสงของดวงโคม, การนำเสนอข้อมูลการกระจายแสง, รายละเอียดข้อมูลทางแสง ของดวงโคมประเภทต่างๆ ได้แก่ ดวงโคมใช้งานในอาคาร โคมไฟส่อง โคมไฟถนน อธิบายที่มา และความสำคัญของมุมตัน, นิยาม และการคำนวณหาฟลักซ์ส่องสว่าง และความสว่าง, ความสำคัญของกฎกำลังสองผกผัน และกฎโคไซน์ในเรื่องการส่องสว่าง, การใช้กฎกำลังสองผกผัน และกฎโคไซน์คำนวณความสว่างบนระนาบต่างๆ ที่เกิดจากดวงโคมใช้งานในอาคาร และโคมไฟส่อง นอกจากนี้ ได้กล่าวถึง สัมประสิทธิ์การใช้ประโยชน์แสง และการคำนวณหาค่าดังกล่าว ตามวิธีของ IESNA
ในตอนท้ายของหนังสือเล่มนี้ ได้กล่าวถึง การออกแบบไฟแสงสว่างในคลังสินค้า ซึ่งมีหลักการคิดแตกต่างไปจาก การออกแบบระบบแสงสว่างในอาคาร ทั่วๆ ไป และปิดท้ายด้วยเรื่องการใช้คอมพิวเตอร์คำนวณค่าความสว่าง ซึ่งเป็นเรื่องที่เราจะหลีกเลี่ยงไม่ได้ในโลกยุคปัจจุบัน ที่เรียกว่ายุคโลกาภิวัฒน์
สารบัญ
บทที่ 1 : บทนำ
1.1 ปริมาณที่สำคัญทางด้านการส่องสว่าง
1.2 มุมตัน
1.3 ฟลักซ์ส่องสว่าง
1.4 ความสว่าง
1.5 ความเข้มส่องสว่าง
1.6 ความส่องสว่าง
1.7 สำหรับท่านผู้อ่าน
บทที่ 2 : การกระจายแสงของดวงโคม
2.1 การวัดข้อมูลการกระจายแสง
2.1.1 การวัดโดยใช้หัววัดหลายหัวติดตั้งอยู่กับที่
2.1.2 การวัดโดยใช้หัววัดหัวเดียวเคลื่อนที่ได้
2.1.3 การวัดโดยใช้กระจกเงาเคลื่อนที่
2.1.4 การวัดโดยใช้ชุดจับยึดดวงโคมหมุนได้หลายแกน
2.1.5 ประเภทของชุดจับยึดดวงโคมหมุนได้หลายแกน
2.2 การแปลงระบบ
2.2.1 พิกัดของมุม
2.2.2 สมการที่ใช้ในการแปลงระบบ
2.2.3 ตัวอย่างการสร้างสมการแปลงระบบ
2.3 การนำเสนอข้อมูลการกระจายแสง
2.3.1 ตารางข้อมูลการกระจายความเข้มส่องสว่าง
2.3.2 เส้นโค้งโพลาร์
2.3.3 เส้นโค้งบนแกน I – g โคออร์ดิเนต
2.3.4 เส้นโค้งความเข้มแสงเท่า
2.4 สรุป
บทที่ 3 : ข้อมูลทางแสงของดวงโคมใช้งานในอาคาร
3.1 เส้นโค้งการกระจายแสง
3.2 ประสิทธิภาพของดวงโคม
3.3 สัดส่วนของฟลักซ์ส่องสว่างในช่วงมุมต่าง ๆ
3.4 สัดส่วนของฟลักซ์ส่องสว่างที่ส่องขึ้นข้างบนและส่องลงข้างล่าง
3.5 การจำแนกประเภทของดวงโคมตามระบบ CIE
3.6 การจำแนกประเภทของดวงโคมตามระบบ IESNA
3.7 ระยะห่างสูงสุดของการติดตั้งต่อความสูงของการติดตั้งเหนือระดับพื้นที่ทำงาน
3.8 การจัดประเภทการบำรุงรักษา
3.9 สัมประสิทธิ์การใช้ประโยชน์แสง
3.10 สัมประสิทธิ์ความส่องสว่างของช่องว่างเพดานและฝาผนัง
3.11 ความส่องสว่างเฉลี่ยและความส่องสว่างสูงสุดที่มุมต่าง ๆ
3.12 รหัสฟลักซ์ส่องสว่างของ CIE
3.13 แผนภาพความส่องสว่างและเส้นโค้งจำกัดแสงจ้า
บทที่ 4 : ข้อมูลทางแสงของโคมไฟส่อง
4.1 การกระจายความเข้มส่องสว่าง
4.1.1 ตารางข้อมูลการกระจายความเข้มส่องสว่าง
4.1.2 เส้นโค้งบนแกน I – V และ I – H โคออร์ดิเนต
4.1.3 เส้นโค้งโพลาร์
4.1.4 เส้นโค้งความเข้มแสงเท่า
4.2 การกระจายฟลักซ์ส่องสว่างในโซนย่อย
4.3 ฟลักซ์ส่องสว่างในลำแสง
4.4 ประสิทธิภาพลำแสง
4.5 ความกว้างของลำแสง
4.6 การจัดประเภทความกว้างลำแสงตามระบบ IES / NEMA
4.7 ความเข้มส่องสว่างสูงสุดในลำแสง
4.8 ความเข้มส่องสว่างสูงสุดค่าเฉลี่ย
4.9 เส้นโค้งฟลักซ์ส่องสว่างสะสม
บทที่ 5 : ข้อมูลทางแสงของโคมไฟถนน
5.1 การกระจายความเข้มส่องสว่าง
5.1.1 ตารางข้อมูลการกระจายความเข้มส่องสว่าง
5.1.2 เส้นโค้งความเข้มแสงเท่า
5.1.3 เส้นโค้งโพลาร์
5.2การจัดประเภทของดวงโคมตามระบบCIE
5.3 ตัวประกอบการใช้ประโยชน์แสง
5.4 สัดส่วนของฟลักซ์ส่องสว่างในสี่ส่วนของทรงกลม
5.5 เส้นโค้งความสว่างเท่า
5.6 เส้นโค้งความส่องสว่างเท่า
บทที่ 6 : มุมตัน
6.1 นิยามของมุมตัน
6.2 การสร้างสมการหามุมตัน
6.2.1 dw = sing • dg • dC
6.2.2 dw = cosH • dH • dV
6.3 มุมตันของยอดกรวย
6.4 มุมตันของยอดกรวยสองอันซ้อนกัน
6.5 มุมตันของยอดลิ่มที่มีฐานเป็นส่วนของผิวทรงกลม
6.6 มุมตันของยอดลิ่มที่มีฐานเป็นพื้นระนาบ
6.7 ภาพฉายของมุมตัน
6.8 แบบฝึกหัด
บทที่ 7 : ฟลักซ์ส่องสว่าง
7.1 นิยามของฟลักซ์ส่องสว่าง
7.2
7.3
7.4 ฟลักซ์ส่องสว่างของดวงโคมใช้งานในอาคาร
7.5 ประสิทธิภาพของดวงโคม
7.6 ฟลักซ์ส่องสว่างของโคมไฟส่อง
7.7 ฟลักซ์ส่องสว่างบนระนาบสี่เหลี่ยม
7.8 แบบฝึกหัด
บทที่ 8 : กฎกำลังสองผกผันและกฎโคไซน์
8.1
8.2 การประยุกต์ใช้กฎกำลังสองผกผัน
8.3 กฎโคไซน์
8.4 ระยะห่างที่เหมาะสม
8.5 แบบฝึกหัด
บทที่ 9 : ความสว่าง
9.1 นิยามของความสว่าง
9.2 การคำนวณจากค่าฟลักซ์ส่องสว่าง
9.3 การคำนวณจากค่าความเข้มส่องสว่าง
9.4 การคำนวณวิธีต่าง ๆ
บทที่ 10 : การหาความสว่างด้วยกฎกำลังสองผกผัน
10.1 สมการและข้อมูลที่ใช้
10.2 ความสว่างบนระนาบนอน
10.3 ความสว่างบนระนาบดิ่ง
10.4 ความสว่างบนระนาบเอียง
10.5 ความสว่างบนระนาบใด ๆ เมื่อแกนของดวงโคมไม่ได้อยู่ในแนวดิ่ง
10.6 ความสว่างจากดวงโคมที่มีการกระจายความเข้มส่องสว่างไม่สมมาตรรอบแกน
10.7 สรุป
10.8 แบบฝึกหัด
บทที่ 11 : การหาค่าความสว่างจากโคมไฟส่องด้วยกฎกำลังสองผกผัน
11.1 หลักการคำนวณ
11.2 การคำนวณหาค่ามุม H และมุม V
11.3 การอ่านค่าความเข้มส่องสว่างจากเส้นโค้งความเข้มแสงเท่า
11.4 ตัวอย่างการคำนวณ
11.5 แบบฝึกหัด
บทที่ 12 : การหาค่าความสว่างจากโคมไฟส่องด้วยกฎกำลังสองผกผัน (ตอนที่ 2)
12.1 หลักการคำนวณ
12.2 การคำนวณหาค่ามุม H และมุม V
12.2.1 เมื่อให้มุมหัน t เท่ากับศูนย์
12.2.2 เมื่อให้มุมหันเท่ากับ t
12.3 ตัวอย่างการคำนวณ
12.4 แบบฝึกหัด
บทที่ 13 : สัมประสิทธิ์การใช้ประโยชน์แสง
13.1 นิยามของสัมประสิทธิ์การใช้ประโยชน์แสง
13.2 ตัวแปรที่มีผลต่อค่าสัมประสิทธิ์การใช้ประโยชน์แสง
13.3 การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์การใช้ประโยชน์แสง [ IES 1981 ]
13.4 ตัวอย่างการคำนวณ
13.5 การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์การใช้ประโยชน์แสง [ IES 1983 ]
13.6 แบบฝึกหัด
บทที่ 14 : การออกแบบไฟแสงสว่างในคลังสินค้า
14.1 ลักษณะของพื้นที่
14.2 ระดับความสว่าง
14.3 การเลือกใช้ดวงโคม
14.3.1 ความกว้างของลำแสง
14.3.2 เกณฑ์ระยะห่างของการติดตั้ง
14.3.3 ระยะร่น
14.4 สัมประสิทธิ์การใช้ประโยชน์แสงและระยะห่างของการติดตั้ง
14.5 ตัวอย่างการคำนวณ
14.6 ความสว่างเฉลี่ยบนระนาบดิ่งของชั้นวางสินค้า
14.7 การตรวจสอบความสว่างที่จุดใด ๆ บนระนาบนอน
14.8 การตรวจสอบความสว่างที่จุดใด ๆ บนระนาบดิ่ง
14.9 สรุป
14.10 แบบฝึกหัด
บทที่ 15 : การใช้คอมพิวเตอร์คำนวณค่าความสว่างและคุณภาพการส่องสว่าง
15.1 ข้อมูลการกระจายแสงของโคมไฟส่อง
15.2 การคำนวณค่าความสว่างด้วยวิธีคิดทีละจุด
15.3 การคำนวณในระบบ H-V
15.4 การคำนวณในระบบ C-g
15.5 การประเมินคุณภาพการส่องสว่างในเรื่องแสงจ้าและเงา
15.6 ความสม่ำเสมอ
15.7 การประเมินพิกัดแสงจ้า
15.8 การคำนวณหาตำแหน่งของเงาที่เกิดจากวัตถุ
15.9 การประยุกต์ใช้งาน
15.9.1 การจัดทำข้อมูลสำหรับสร้างเส้นโค้งความสว่างเท่า
15.9.2 คำนวณค่าความสว่างบนป้ายโฆษณา
15.9.3 คำนวณค่าความสว่างบนผนังอาคาร
15.9.4 คำนวณค่าความสว่างบนพื้นราบ
15.9.5 คำนวณค่าความสว่างในสนามกีฬากลางแจ้ง
15.9.6 คำนวณค่าความสว่างกรณีที่มีวัตถุมาบังแสงทำให้เกิดเงา