คู่มือวิศวกรไฟฟ้า

คู่มือวิศวกรไฟฟ้า

รหัสหนังสือ: BM 12018 ชื่อหนังสือ: คู่มือวิศวกรไฟฟ้า
ISBN 9789746861304
แต่งโดย M&E
ขนาด 14.4 x 21.0 ซ.ม.
จำนวนหน้า: 250
กระดาษ: กระดาษปอนด์
สำนักพิมพ์: M&E
ปีที่พิมพ์: 2559
ราคาปก 160 บาท

เป็นหนังสือคู่มือทางด้านไฟฟ้า ที่รวบรวม สูตร, สัญลักษณ์, ตาราง, มาตรฐาน และเรื่องน่ารู้ต่างๆ สำหรับ วิศวกรไฟฟ้า, นักเรียน นักศึกษา และ ช่างเทคนิค ที่ต้องการข้อมูลอ้างอิง เกี่ยวกับไฟฟ้า เพื่อนำไปใช้ ในงานอุตสาหกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และ ในด้านการเรียนการสอนทุกระดับ

สารบัญ

  1. หน่วยทางวิศวกรรม
    1.1 – หน่วย SI
    1.2 – ตัวคูณหน่วย
    1.3 – หน่วยตามมาตรฐานต่างๆ
    1.4 – ตัวย่อ
    1.5 – หน่วยวัดและน้ำหนัก
    1.6 – การแปลงหน่วย
    1.7 – อักษรกรีก
  2. สัญลักษณ์และการคำนวณทางวิศวกรรม
    2.1 – สมการและความหมายทางแสง
    2.2 – Per unit
    2.3 – สมการ R, L, C, Frequency, สูตรและสมการทางไฟฟ้า
    2.4 – สูตรสำหรับมอเตอร์, หม้อแปลง, AC, DC
    2.5 – การอนุกรมและขนาน
    2.6 – เดลตา-วาย
    2.7 – รหัสสี R, L, C
    2.8 – ขนาดคาปาซิเตอร์
  3. สัญลักษณ์และความหมายทางไฟฟ้า
    3.1 – สัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
    3.2 – สัญลักษณ์ทางเครื่องมือวัด
    3.3 – หมายเลขการทำงานของอุปกรณ์ในระบบไฟฟ้า
  4. คุณสมบัติทางฟิสิกส์
    4.1 – ค่าคงที่
    4.2 – คุณสมบัติ
    4.3 – อุณหภูมิ
    4.4 – ค่าความต้านทานทางไฟฟ้า
  5. ตารางไฟฟ้ากำลัง
    5.1 – การเทียบขนาดสาย
    5.2 – ขนาดรับกระแสของสาย
    5.3 – ชนิดของสายและการใช้งาน
    5.4 – ขนาดสายดินและสายต่อหลักดิน
    5.5 – ขนาดท่อร้อยสาย
    5.6 – ประมาณการค่ากระแสของมอเตอร์
    5.7 – คุณสมบัติของตัวนำทองแดงของสายไฟฟ้า
    5.8 – ขนาดบัสบาร์ทางไฟฟ้า
    5.9 – ขนาดการรับกระแสของทองแดง
    5.10 – การเจาะรูโบลต์สำหรับต่อสาย
    5.11 – สีของสายไฟหุ้มฉนวนแรงต่ำ
    5.12 – ขนาดกระแสของสายสำหรับมอเตอร์ใช้งานไม่ต่อเนื่อง
    5.13 – โหลดเครื่องปรับอากาศ
    5.14 – ระยะห่างระหว่างหลักดิน
    5.15 – พิกัดโหลดของมอเตอร์
    5.16 – ดีมานด์แฟกเตอร์ของเครื่องปรับอากาศ
  6. ค่าต่างๆ สำหรับระบบแสงสว่าง
    6.1 – ค่าความเข้มแสงของงานต่าง ๆ
    6.2 – ค่า Utilization factor สำหรับดวงโคม
    6.3 – การเลือกและเปรียบเทียบหลอดไฟฟ้า
    6.4 – ดีมานด์แฟกเตอร์สำหรับโหลดแสงสว่าง
  7. ความปลอดภัยทางไฟฟ้าและที่เกี่ยวข้อง
    7.1 – ระดับชั้นการป้องกัน
    7.2 – การแบ่งประเภทพื้นที่อันตราย
    7.3 – การแบ่งประเภทอาคาร
    7.4 – ล่อฟ้าและการป้องกันฟ้าผ่า
    7.5 – พิกัดสูงสุดเครื่องป้องกันกระแสเกิน
    7.6 – พิกัดเครื่องป้องกันลัดวงจรระหว่างสายและการรั่วลงดินของมอเตอร์
    7.7 – กระแสลัดวงจรในระบบแรงต่ำของสายวงจรย่อย
    7.8 – ขนาดปรับตั้งเครื่องป้องกันกระแสเกินของหม้อแปลง

7.9 – การระบายความร้อนของหม้อแปลง
7.10 – ระยะห่างระบบไฟฟ้ากับระบบอื่น
7.11 – ระยะห่างทางไฟฟ้ากับสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง
7.12 – การทนไฟของสายไฟฟ้า
7.13 – อัตราการทนไฟภายในส่วนต่างๆ
7.14 – การเลือกใช้ชนิดเครื่องดับเพลิง
7.15 – ระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย
7.16 – ระบบไฟฟ้าแสงสว่างและป้ายทางออกฉุกเฉิน
7.17 – ขนาดพื้นที่ต่อคนสำหรับกิจกรรมต่างๆ

  1. ขนาดเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า
    8.1 – ขนาดเครื่องวัดหน่วยไฟฟ้า
  2. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมของอุปกรณ์ไฟฟ้า
    9.1 – มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมของอุปกรณ์ไฟฟ้า (มาตรฐานบังคับ)