รหัสหนังสือ: 11303 ชื่อหนังสือ: ระบบการบำรุงรักษาเครื่องจักรเชิงปฏิบัติ
ISBN:9789746861014
ผู้แต่ง: วินัย เวชวิทยาขลัง
ขนาด: 18.5 x 26.0 ซ.ม.
จำนวนหน้า: 254
กระดาษ: ปอนด์
ราคา 400 บาท
ในโรงงานอุตสาหกรรม จะมีเครื่องจักร-อุปกรณ์การผลิตมากมาย หากมีการบริหารจัดการการบำรุงรักษาที่ดี มีระบบติดตามผลที่ดี จะทำให้เกิดผลดี ทั้งทางด้านการผลิต คุณภาพ การส่งมอบสินค้า สามารถลดค่าใช้จ่ายการซ่อมบำรุง และต้นทุนของสินค้าลงได้ นอกจากนี้ จะทำให้เกิดความปลอดภัยต่อชีวิต และทรัพย์สินของโรงงานและองค์กรอีกด้วย
หนังสือเล่มนี้ กล่าวถึงความสำคัญของระบบบำรุงรักษา การจัดทำ ระบบตั้งแต่การพิจารณาเลือกเครื่องจักร อุปกรณ์ การจัดระดับความสำคัญ การจัดทำมาตรฐานบำรุงรักษาเครื่องจักร การวางแผน และการออกแบบจัดทำใบงาน, Check Sheet แบบต่างๆ การนำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้
ในการบริหารจัดการ การวัดประเมินระบบซ่อมบำรุง ว่าดีหรือไม่ดี ดูจากอะไรบ้าง ซึ่งเป็นการนำความรู้ทางทฤษฎีและประสบการณ์จริงมากลั่นกรองเป็นวิธีปฏิบัติที่ให้ผลได้อย่างแท้จริง
หนังสือเล่มนี้ จึงเป็นประโยชน์ในวงการอุตสาหกรรม ทำให้ระบบบำรุงรักษาเครื่องจักร และอุปกรณ์ มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
สารบัญ
บทที่ 1 การจัดการบำรุงรักษาเครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต
1.1 ทำไมต้องมีการบำรุงรักษาเครื่องจักร
1.2 ถ้ามีการบำรุงรักษาแล้วจะได้ประโยชน์อะไรตอบแทน
1.3 การพัฒนาระบบซ่อมบำรุง
1.4 ระบบการบำรุงรักษาเครื่องจักรและเทคนิค-การประยุกต์ใช้งาน
บทที่ 2 การพิจารณาคัดเลือกเครื่องจักร อุปกรณ์เข้าระบบบำรุงรักษา
2.1 จะมีวิธีเลือกระบบบำรุงรักษาอย่างไร
2.2 ความสำเร็จของระบบบำรุงรักษา
2.3 ลักษณะสำคัญของ TPM
2.4 เป้าหมายหลักของ TPM
2.5 การกำหนดทะเบียนเครื่องจักร
2.6 ทำไมต้องมีทะเบียนเครื่องจักร
2.7 การจัดระดับความสำคัญเครื่องจักร
2.8 การกำหนดความสำคัญ A, B และ C
2.9 ผังการไหล การจัดทำฐานข้อมูลโรงงาน
บทที่ 3 รายการงานจัดทำมาตรฐานงานบำรุงรักษาเครื่องจักร
3.1 หัวข้อสำคัญของการบำรุงรักษา
3.2 งานทำความสะอาด
3.3 ข้อดีของการทำสะอาด
3.4 หลักการกำหนดการทำสะอาดเครื่องจักร
3.5 งานหล่อลื่นบำรุงรักษา
3.6 ปัจจัยสำคัญของงานหล่อลื่น
3.7 งานตรวจสภาพและปรับแต่ง
3.8 ความถี่ของการซ่อมบำรุงเชิงป้องกัน
3.9 จะวัดการเสื่อมสภาพเครื่องจักรได้อย่างไร
3.10 ทำไมต้อง Proactive Maintenance
3.11 ทำไมต้อง Predictive Maintenance
3.12 ความพร้อมสมบูรณ์ และการเสื่อมสภาพเครื่องจักร
3.13 เครื่องมือวัดสภาพเครื่องจักร
3.14 การทดสอบการทำงาน
3.15 การปรับแต่งและเปลี่ยนชิ้นส่วน
3.16 ทำไมต้องมีรายการมาตรฐานบำรุงรักษา
3.17 รายการมาตรฐานบำรุงรักษาได้มาอย่างไร
3.18 รายการมาตรฐานบำรุงรักษาที่ดี ควรเป็นอย่างไร
3.19 ขั้นตอนการจัดทำรายการมาตรฐานบำรุงรักษาเครื่องจักร อุปกรณ์
3.20 ใบจัดทำมาตรฐานบำรุงรักษาเครื่องจักร
3.21 การกำหนดหมายเลขงานบำรุงรักษา
3.22 การจัดทำรายการมาตรฐานบำรุงรักษาเครื่องจักร
3.23 การรวบรวมเทคนิคการบำรุงรักษาเครื่องจักรมาจัดทำรายการมาตรฐานบำรุงรักษา
บทที่ 4 การจัดทำคู่มือแม่แบบบำรุงรักษาเครื่องจักร
4.1 การจัดทำคู่มือแม่แบบ
4.2 ทำไมต้องมีคู่มือแม่แบบ
4.3 ขั้นตอนการจัดทำคู่มือแม่แบบ
4.4 การจำแนกปริมาณงานเพื่อการจัดการวางแผนบำรุงรักษา
4.5 จะจำแนกปริมาณงานซ่อมบำรุงอย่างไร
4.6 การวางแผนบำรุงรักษาเครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต
4.7 แผนการบำรุงรักษาคืออะไร
4.8 ความจำเป็นของแผนการบำรุงรักษา
4.9 ข้อดีของแผนบำรุงรักษา
4.10 หลักการวางแผนบำรุงรักษา
4.11 การวัดประเมินผลระบบซ่อมบำรุง
4.12 วิธีการวางแผนบำรุงรักษา
4.13 ข้อควรคำนึงในการวางแผนการบำรุงรักษา
4.14 สิ่งจำเป็นสำหรับแผนการบำรุงรักษา
4.15 เรื่องสำคัญสำหรับแผนการตรวจสภาพ
4.16 จะได้อะไรจากการตรวจซ่อม
4.17 รายการมาตรฐานเทคนิคการบำรุงรักษา
4.18 การควบคุมเหตุขัดข้อง
4.19 การควบคุมวัสดุ-อะไหร่ซ่อมบำรุง
4.20 การประเมินผลของแผนบำรุงรักษา
บทที่ 5 ขั้นตอนการจัดทำใบงานบำรุงรักษาตามแผน
5.1 ลักษณะใบงานขึ้นอยู่กับอะไร
5.2 หัวส่วนประกอบใบงานมีอะไรบ้าง
5.3 ลักษณะใบงานมาตรฐานบำรุงรักษา
5.4 กราฟแสดงปริมาณงาน (นาที) ในแต่ละสัปดาห์
5.5 ใบงานบันทึกผลการบำรุงรักษา
5.6 หัวข้อส่วนประกอบเอกสารแนบ, ใบตรวจสภาพ
บทที่ 6 แนวทางการจัดการจำนวนช่างและการจัดผังงานฝ่ายซ่อมบำรุงให้เหมาะสม
6.1 ลักษณะของงานซ่อมบำรุงเชิงป้องกัน
6.2 ลักษณะงานซ่อมบำรุงเชิงปรับปรุงแก้ไข
6.3 ปรับปรุงผังกำลังพล
6.4 แนวคิดในการซ่อมบำรุง
6.5 การเก็บสำรองอะไหล่เพื่อการซ่อมบำรุง
6.6 คำนวณหาเวลารวมที่ใช้ในการซ่อมบำรุง
6.7 คำนวณหาเวลารวมของช่างซ่อมบำรุงและการปริมาณกำลังพลฝ่ายซ่อมบำรุง
6.8 การจัดผังฝ่ายซ่อมบำรุง
บทที่ 7 การใช้คอมพิวเตอร์บริหารจัดการระบบซ่อมบำรุง
7.1 การใช้คอมพิวเตอร์บริหารจัดการระบบซ่อมบำรุง
7.2 องค์ประกอบหลักของระบบ CMMS
7.3 ขั้นตอนการจัดทำระบบมาตรฐานด้วย CMMS
7.4 รายละเอียดขั้นตอนการจัดทำระบบมาตรฐานด้วย CMMS
บทที่ 8 การวัดผลประสิทธิภาพระบบซ่อมบำรุง
8.1 ความพร้อมเดินเครื่องจักร
8.2 เวลาเดินเครื่องจักร
8.3 เวลาหยุดเครื่องจักรขัดข้อง
8.4 อายุการใช้งานเฉลี่ยต่อครั้ง
8.5 เวลาการซ่อมบำรุงเฉลี่ย/ต่อครั้ง
8.6 ประสิทธิภาพโดยรวม
8.7 ค่าใช้จ่ายการซ่อมบำรุงต่อหน่วย
8.8 ความหมายรหัสการหยุดเครื่องจักร
8.9 บันทึกสาเหตุการหยุดเครื่องจักร
8.10 การจำแนกเวลาหยุด
8.11 ตัวอย่างการคำนวณ
บทที่ 9 การตั้งเป้าหมายวัดประสิทธิภาพระบบซ่อมบำรุง
9.1 การตั้งเป้าหมาย
9.2 องค์ประกอบของเป้าหมาย
9.3 การกำหนดเป้าหมาย
9.4 ตัวอย่างการกำหนดเป้าหมาย
9.5 แผนงานดำเนินการ
บทที่ 10 การควบคุมค่าใช้จ่ายและจัดทำงบประมาณซ่อมบำรุง
10.1 ค่าใช้จ่ายงานซ่อมบำรุง
10.2 ค่าใช้จ่ายการซ่อมบำรุงที่เหมาะสม
10.3 ประเภทค่าใช้จ่ายการซ่อมบำรุง
10.4 จุดวัดประเมินค่าบำรุงรักษา
10.5 การควบคุมค่าใช้จ่ายการซ่อมบำรุง
10.6 การกำหนดหมายเลขค่าใช้จ่าย
10.7 การรายงานค่าใช้จ่าย
10.8 การวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย
10.9 การขยายตัวทางเศรษฐกิจ
10.10 จะทำงบประมาณค่าซ่อมเมื่อใด