รหัสหนังสือ: 10113 ชื่อหนังสือ: คู่มือวิศวกรเครื่องกล
ISBN: 9746860003
ผู้แต่ง: เทคนิค/เอ็มแอนด์อี บจ.
ขนาด: 13.0 x 19.0 ซ.ม.
จำนวนหน้า: 759
ราคาปก 600 บาท
ราคาพิเศษ 360 บาท ตำหนิที่ปกและสัน
หนังสือ “คู่มือวิศวกรเครื่องกล” เป็นหนังสือที่รวบรวมตารางข้อมูลเกี่ยวกับ วิศวกรรมเครื่องกล เหมาะอย่างยิ่งสำหรับ วิศวกรเครื่องกล, ช่างเทคนิค และนักศึกษาวิศวกรรม ที่ต้องการเป็นแนวทางไปใช้ในทางปฏิบัติ เกี่ยวกับวิศวกรรมเครื่องกล ในงานอุตสาหกรรม หรือในด้านการเรียนการสอนทางด้านเครื่องกล
เนื้อหาออกเป็นหมวดต่างๆ เช่น การแปลงหน่วยต่าง, ระบบปรับอากาศ (แอร์บ้าน, หาขนาดแอร์โดยประมาณ, ไซโครแมตริกชาร์ต ..), มิติของเครื่องปรับอากาศ (ชิลเลอร์, คูลิ่งทาวเวอร์, เครื่องส่งลมเย็น ..), พัดลม, ท่อส่งลม-ระบายลม, ห้องสะอาด-การกรองอากาศ, ห้องเย็น, ฉนวน
ท่อ-ปั๊ม, ท่อลมอัด, ท่อแก๊ส, การป้องกันเพลิง, ไอน้ำ, ปั๊ม, ท่อน้ำประปา, ท่อส้วม-ท่อน้ำทิ้ง, pipe hanger, มิติหน้าแปลน
วัสดุกับการกัดกร่อน, ตารางเหล็ก, การเชื่อม, สลักเกลียว-ตะปูควง, หมวดถัง, การเผาไหม้, ก๊าซแอลพีจี, และวิศวกรรมด้าน acoustic ที่เกี่ยวข้องกับห้อง หรือโรงมหรสพ ที่ต้องควบคุมเสียงสะท้อน และเสียงรบกวนต่างๆ
สารบัญ
0-1 หมวดการแปลงหน่วย
– ตารางแปลงหน่วย (แบบที่ 1)
– ตารางแปลงหน่วย (แบบที่ 2)
– ตารางแปลงนิ้วเป็น ม.ม.
– ตารางแปลงอุณหภูมิ
– ตารางแปลงหน่วยของโบลต์
– การแปลงค่าความหนืด
ภาคที่ 1 ระบบปรับอากาศ-การระบายอากาศ
1-1 หมวดระบบปรับอากาศ
– ข้อมูลเบื้องต้นสำหรับแอร์บ้าน
– ตารางหาขนาดเครื่องแอร์โดยประมาณ
– สูตรทางด้านไซโครเมตริก
– ไซโครเมติกชาร์ต
– ความหมายของตัวย่อ
– สัญลักษณ์
– ตารางน้ำยา
1-2 หมวดมิติของเครื่องปรับอากาศ
– ตารางแสดงขนาด Centrifugal Liquid Chiller ของ York
– ตารางเลือกโมเดลคูลิ่งเทาเวอร์อย่างง่าย
– ตารางแสดงขนาดคูลิ่งเทาเวอร์
– ตารางแสดงขนาดฐานและน้ำหนักของคูลิ่งเทาเวอร์
– ตารางแสดงขนาดคูลิ่งเทาเวอร์
– มิติของเครื่องส่งลมเย็นขนาดเล็กโดยประมาณ (fan coil unit)
– มิติของเครื่องเป่าลมเย็นขนาดเล็กแบบใช้ต่อท่อลมโดยประมาณ
– ตารางแสดงขนาดของเครื่อง packaged water cool A/C unit
– มิติของเครื่องส่งลมเย็นขนาดใหญ่โดยประมาณ
1-3 หมวดพัดลม
– ตารางแสดงคุณสมบัติของพัดลมชนิดต่างๆ
– มิติของพัดลม propeller มิลลิเมตร (นิ้ว)
– ตารางเลือกรุ่นพัดลมหอยโข่งอย่างง่าย
– ลักษณะการติดตั้งพัดลม centrifugal
– ลักษณะการติดตั้งพัดลม axial flow
– พัดลมอุตสาหกรรม
1-4 หมวดท่อส่งลม-ระบายลม
– ข้อมูลสำหรับการออกแบบฝาชีระบายควัน
– ตารางใช้เลือกหัวจ่ายชนิดติดข้างฝา
– กราฟสำหรับใช้หาขนาดท่อลม
– กราฟสำหรับแปลงค่าท่อลมรูปกลมเป็นรูปเหลี่ยม
– ตารางสำหรับเทียบค่าความเร็วลมเป็นความดัน
– แรงเสียดทานของท่อลักษณะต่างๆ
– แรงเสียดทานของท่อเลี้ยว
– ตารางเกจสำหรับแผ่นโลหะตามมาตรฐานต่างๆ
– ตารางความกว้างของท่อลมกับความหนาของแผ่นเหล็ก และการประกอบท่อ
– ขนาดสัดส่วนโดยทั่วไปของไซโคลน
– มาตรฐานคุณภาพอากาศที่ปล่อยออกนอกโรงงาน
– รายละเอียดเกี่ยวกับการอัดลมในบันไดหนีไฟ
– Cyclone Collectors
1-5 หมวดห้องสะอาดและการกรองอากาศ
– ตารางแสดงการกำหนด class ของ clean room
– หลักการ 5 ข้อของห้องสะอาด
– รูปแสดงการกำหนดชื่อภาพโคจรลมภายในห้องสะอาด
– Non-Laminar flow clean rooms basic design & operating consideration
– Laminar downflow clean rooms basic design & operating consideration
– ตารางแสดงประกอบความต้องการของ Bio clean room
– การกำหนดประสิทธิภาพของตัวกรองอากาศ
– ชนิดและคุณสมบัติสำหรับ air filter ของ AAF
– กราฟแสดงการกำหนด class ของห้องสะอาดตามมาตรฐาน
1-6 หมวดห้องเย็น
– รูปแสดงอุณหภูมิห้องเย็น
– ตารางแสดงสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการเก็บรักษาอาหารที่อุณหภูมิต่ำ
– วิธีการคำนวณหา cooling load ของห้องเย็น
– ตารางสำหรับใช้กรอกในการหาค่า cooling load
– ตารางเลือกขนาดห้องเย็นอย่างประมาณสำหรับห้องเย็นประเภท walk in
1-7 หมวดฉนวน
– มาตรฐานฉนวน Aeroflex
– ฉนวนที่ใช้กับอุณหภูมิสูง
– ฉนวนสำหรับใช้กับอุณหภูมิต่ำ
– กราฟหาค่าความหนาของฉนวนของ Aeroflex
– ตารางแสดงค่าความหนาที่แนะนำสำหรับฉนวนของ Aeroflex
– ค่าความต้านทานทางเคมี
– ฉนวนโพลิยูรีเทน
– คุณสมบัติของฉนวนโพลิยูรีเทน
– ความหนาสำหรับฉนวนโพลิยูรีเทน
– ความหนาสำหรับฉนวนโพลิสไตรีน
– คุณสมบัติทางกายภาพของโพลิสไตรีน
– การหาความหนาของฉนวนเพื่อป้องกันการกลั่นตัวของไอน้ำ
ภาคที่ 2 ท่อ-ปั๊ม
2-1 หมวดท่อ-ปั๊ม
– ตารางแสดงระยะห่างระหว่างท่อที่วางคู่กัน
– ตารางแสดงมิติของท่อที่ข้ามกัน 45 องศา
– ตารางแสดงมิติของอุปกรณ์ท่อเชื่อม
– ตารางแสดงมิติของอุปกรณ์ท่อเชื่อม (socket-weleded)
– ตารางมิติของข้อต่อท่อ
– ตารางแสดงมิติของข้อต่อท่อเหล็กเกลียว
– ตารางเทียบขนาดพื้นที่เส้นรอบรูปของท่อขนาดต่างๆ
– ตารางแสดงระยะห่างของจุดรองรับท่อ
– ตารงเปรียบเทียบคุณสมบัติของวาล์วประเภทต่างๆ
– การเลือกวัสดุที่ใช้ทำวาล์วในงานควบคุมของเหลวประเภทต่างๆ
– ตารางแสดงค่าแรงเสียดทานของอุปกรณ์ท่อมาตรฐาน
– กราฟแสดงค่าแรงเสียดทานของน้ำในท่อเหล็กมาตรฐาน
– กราฟแสดงค่าแรงเสียดทานของน้ำในท่อทองแดงผิวในเรียบ
– ตารางแสดงค่าการไหลของน้ำผ่านท่อเหล็ก SCH 40
– วิธีการหาค่าความเสียดทานของของเหลวไหลผ่านท่อ
– หาความเสียดทานโดยวิธีความยาวเทียบเท่าของวาล์วและฟิตติ้ง
– ความเร็วเฉลี่ยของของเหลวในท่อ
– ปริมาตรภายในท่อ
– ขนาดของคอนโทรลวาล์วน้ำ
– กราฟหาสัมประสิทธิ์ของวาล์ว Cv (ใช้กับน้ำ, ความถ่วงจำเพาะ = 1)
– ข้อกำหนดของ ASTM เกี่ยวกับโลหะในงานที่มีอุณหภูมิ และความดันสูงๆ ซึ่งนำมาใช้กับวาล์ว
– ตารางแสดงช่วงความดันและอุณหภูมิสำหรับโลหะชนิดต่างๆ ตามมาตรฐาน ASTM ที่ใช้ทำวาล์ว
– ขนาดเกลียวตามมาตรฐานต่างๆ
– ตารางเทียบมาตรฐานเหล็กอย่างง่าย
– ตารางแสดงคุณสมบัติของท่อเหล็กตามมาตรฐานอเมริกัน
– ตารางแสดงคุณสมบัติของท่อทองแดงตามมาตรฐานอเมริกัน
– ตารางแสดงคุณสมบัติของท่อ พีวีซี ที่ผลิตในประเทศ
– ตารางแสดงคุณสมบัติของท่อเหล็กหล่ออาบสังกะสี
– ตารางแสดงขนาดท่อเหล็กหล่อที่ผลิตในประเทศ
– M & E Variables for High Rise Building
2-2 หมวดท่อลมอัด
– วิธีการหาค่าความดันลดในระบบท่อลมอัด
– ปริมาณการใช้ลมอัดของอุปกรณ์ต่างๆ
– วิธีหาค่ากำลังม้าของเครื่องอัดลม
– กราฟหาค่าอุณหภูมิภายหลังการอัด
– กราฟหาค่ากำลังม้าของเครื่องอัดลม
– ตารางปริมาณของลมอัดที่ท่อเหล็กเกรดปานกลาง ตามมาตรฐาน BS 1387
– โมโนกราฟสำหรับหาปริมาณลมอัดที่ทอลมขนาดต่างๆ สามารถส่งได้ที่ความเร็วต่างๆ กัน (หน่วยเมตริก)
– โมโนกราฟสำหรับหาปริมาณลมอัดที่ทอลมขนาดต่างๆ สามารถส่งได้ที่ความเร็วต่างๆ กัน (หน่วยอังกฤษ)
– ตารางแสดงค่าความยาวเปรียบเทียบของอุปกรณ์ประกอบในท่อ
– โมโนกราฟสำหรับหาค่าความดันลดต่อหน่วยความยาวของท่อ (หน่วยเมตริก)
2-3 หมวดท่อแก๊ส
– รายละเอียดสำหรับหาขนาดท่อแก๊ส
– ตารางหาขนาดท่อสำหรับออกซิเจน
– ตารางสำหรับหาขนาดท่อสำหรับสุญญากาศ
– ตารางสำหรับหาขนาดท่อสำหรับไนโตรเจน
2-4 หมวดป้องกันเพลิง
– รายละเอียดมาตรฐานระบบท่อยืนจากมาตรการป้องกันอัคคีภัยของ วสท. 2526
– รายละเอียดนิยามการจัดแบ่งลำดับสถานที่ป้องกันตามมาตรฐาน
– ตารางแสดงอัตราการจ่ายน้ำที่ต้องการสำหรับ NFPA
– กราฟสำหรับค่าอัตราการยืดนำสปริงเกลอร์ต่อหน่วยพื้นที่
– มาตรฐานระบบสปริงเกลอร์น้ำที่สำคัญจาก NFPA 1986
– ตารางแสดงค่าขนาด orifice และการกำหนดอุณหภูมิของ หัวสปริงเกลอร์
– ตารางแสดงอัตราการฉีดของหัวสปริงเกลอร์มาตรฐาน
– รูปแสดงการจัดวางระยะห่างของหัวสปริงเกลอร์สำหรับเพดานเรียบ และมีเสากลางห้อง
– ตารางแสดงระยะของหัวสปริงเกลอร์ เมื่อติดตั้งในระดับเดียวกัน หรือสูงกว่าท้องคาน
– คำนวณหาปริมาณของน้ำหนักของฮาลอน 1301 ตามปริมาตรห้อง
– ขนาดและการติดตั้งเครื่องดับเพลิงสำหรับประเภท ก (class A)
– ขนาดและการติดตั้งเครื่องดับเพลิงสำหรับประเภท ข (class B)
– ขนาดและการติดตั้งเครื่องดับเพลิงสำหรับประเภท ค (class C)
– ขนาดและการติดตั้งเครื่องดับเพลิงสำหรับประเภท ง (class D)
– อัตราการทนไฟสำหรับวัสดุและองค์ประกอบตามมาตรฐาน วสท. 2526
2-5 หมวดไอน้ำ
– ตารางแปลงหน่วยของหม้อไอน้ำ
– ความเร็วของไอน้ำไหลผ่านท่อ
– โมโนกราฟสำหรับหาความเร็วไอน้ำไหลผ่านท่อ
– ปริมาณไอน้ำที่ใช้ทำน้ำร้อน
– โมโนกราฟสำหรับหาปริมาณไอน้ำที่ใช้ทำน้ำร้อน
– ตารางแสดงคุณสมบัติของไอน้ำอิ่มตัว
– ซูเปอร์ฮีตสตีม
– Logarithmic Mean Temp
– ตารางค่า LMTD (D tm)
– ขนาดของคอนโทรลวาล์วใช้กับไอน้ำ
– กราฟหาสัมประสิทธิ์ของวาล์ว-Cv (ใช้กับไอน้ำอิ่มตัว)
– หน่วยที่นิยมใช้
– คุณสมบัติของความร้อนของน้ำ
– การหาขนาดท่อไอน้ำ
– ตารางหาค่าความยาวสมดุลของท่อ
– การหาค่าการกลายเป็นไอ
– ค่าจำนวนปอนด์ของไอน้ำอิ่มตัวแห้งต่อกำลังม้าของหม้อไอน้ำ
– แฟกเตอร์ของการกลายเป็นไอ
– ตารางแสดงขนาด Deaerator
– Summary of Spirax Sarco Steam Trap Range
– Common Steam Trap Install Sketches
2-6 หมวดปั๊ม
– การหาขนาดมอเตอร์ขับปั๊มน้ำ
– ปริมาณแรงม้าที่ต้องการตามทฤษฏีในการส่งน้ำขึ้นสู่ที่สูงแต่ละระดับ
– ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับปั๊มน้ำ
– ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับน้ำมันดิบ
– Static Head, Total Dynamic Head
– ข้อมูลทางไฟฟ้า
– ค่าใช้จ่ายในการสูบน้ำ
– การหาค่าแรงม้าด้วยข้อมูลจากมิเตอร์วัด/ชม.
– กำลังม้าทางทฤษฏีสำหรับสูบน้ำขึ้นสูงในระดับต่างๆ
– วัสดุของปั๊มที่มักเลือกใช้สำหรับของเหลวชนิดต่างๆ
– รายละเอียดการติดตั้ง booster pump
– รายละเอียดสำหรับการออกแบบท่อทางดูดของปั๊ม
– รายละเอียดสำหรับการออกแบบ intake chamber ของ vertical pump
– ตารางเลือกขนาดปั๊มชนิด end suction centrifugal
– ตารางเลือกขนาดปั๊มชนิด hori split case centrifugal
– ตารางแสดงการเลือกขนาดชุดปั๊มรักษาความดัน
2-7 หมวดท่อน้ำประปา
– ตารางแสดงปริมาณการใช้น้ำแยกตามประเภทของอาคาร
– ตารางแสดงการคิดปริมาณการใช้น้ำในหน่วย Fix unit
– ตารางแสดงค่าปริมาณการใช้น้ำ และความดันน้ำ ที่ต้องการสำหรับสุขภัณฑ์แต่ละประเภท
– กราฟสำหรับหาค่าแรงเสียดทานสำหรับมิเตอร์น้ำชนิดดิสก์
– ตารางแสดงค่าการขยายตัวของท่อทองแดง และท่อเหล็ก
– ปริมาณน้ำร้อนสำหรับเครื่องสุขภัณฑ์ต่างๆ (อุณหภูมิ 60 C)
– ปริมาณน้ำร้อนต่อเครื่องสุขภัณฑ์ตามประเภทอาคาร
– คุณภาพน้ำมาตรฐานสำหรับการใช้ในวัตถุประสงค์ต่างๆ
– ความต้องการน้ำร้อนตามประเภทอาคาร (อุณหภูมิ 60 C)
– ตารางผลการวิเคราะห์ตัวอย่างน้ำประปาในเขตกรุงเทพฯ
– ตารางผลการวิเคราะห์ตัวอย่างน้ำบาดาลในเขตกรุงเทพฯ
– ตารางแสดงค่าการเติมคลอรีน ในลักษณะงานต่างๆ กัน
– ตารางมาตรฐานน้ำดื่มของการประปานครหลวง
– ตารางแสดงค่าการไหลของน้ำในหัวฉีดทางทฤษฏี (แกลลอน/นาที)
– กราฟแปลงค่า Fix unit เป็น gpm (L/s)
– ถังน้ำพีพี
2-8 หมวดท่อส้วม-ท่อน้ำทิ้ง
– ส้วม
– ระบบบำบัดน้ำปฏิกูลจากส้วม
– การเลือกใช้ถังแซทส์
– ถังเกรอะและกรองไร้อากาศ
– ถังเกรอะไฟเบอร์กลาสสำเร็จรูป
– ตารางแสดงปริมาณน้ำเสียต่อหน่วยผู้ใช้
– ตารางแสดงค่าปริมาณน้ำเสีย
– ตารางแสดงค่าปริมาณน้ำเสียเป็น Fixture unit
– ขนาดเล็กที่สุดของ Trap สำหรับสุขภัณฑ์
– ตารางแสดงค่า Fixture unit สูงสุดสำหรับท่อระบายเมนแนวตั้ง
– ตารางแสดงค่า Fixture unit สูงสุดสำหรับท่อระบายเมนแนวนอน
– ตารางแสดงค่า Fixture unit สูงสุดสำหรับท่อระบายแยก
– ตารางแสดงหาค่าขนาดและความยาวของท่ออากาศ
– ตารางแสดงค่าความยาวสูงสุดของท่ออากาศสำหรับท่อระบายแยก
– ตารางหาค่าท่ออากาศ circuit หรือ loop vent
– ตารางแสดงค่าพื้นที่รับน้ำฝนสำหรับหัวรับน้ำฝน และท่อน้ำฝนขนาดต่างๆ
– ตารางแสดงค่าพื้นที่รับน้ำฝน (สำหรับรางระบายน้ำ)
– ตารางแสดงค่าพื้นที่รับน้ำฝน สำหรับท่อแนวราบ
– แทรป
2-9 หมวดไปป์แฮงค์เกอร์
– การออกแบบ pipe hangers
– การกำหนดตำแหน่ง pipe hangers
– การคำนวณการเคลื่อนเนื่องจากการเปลี่ยนอุณหภูมิ
– การขยายตัวของท่อ-นิ้ว/ฟุต (อุณหภูมิ 70 F)
– การคำนวณการรับน้ำหนักของ hangers
– การเลือก hangers ที่ถูกต้อง
– ระยะอย่างต่ำจนถัง rigid hangers ตัวแรก
2-10 หมวดมิติของหน้าแปลน
– มิติของ welding neck flange ตามมาตรฐาน ASA B 16.5-1961
– มิติของ slip-on flange ตามมาตรฐาน ASA B 16.5-1961
ภาคที่ 3 ระบบถัง-วัสดุ-เบ็ดเตล็ด
3-1 หมวดวัสดุกับการกัดกร่อน
– ข้อควรระวังในการใช้ตารางนี้
– ตารางของวัสดุท่อ PE, PP กับการกัดกร่อน (ข้อมูลจาก WH)
– ตารางของวัสดุท่อ PVC, PP กับการกัดกร่อน (ข้อมูลจาก GSR)
3-2 หมวดตารางเหล็ก
– ตารางเหล็ก
– ตารางที่ 1 เหล็ก เอช-บีม (H-Steel)
– ตารางที่ 2 เหล็กฉากด้านเท่า
– ตารางที่ 3 เหล็กรางน้ำ
– ตารางเปรียบเทียบมาตรฐานเหล็ก พร้อมทั้งคุณสมบัติ ตามมาตรฐาน ASTM, API, DIN, BS
– ตารางแสดงตัวอย่างวัสดุและลักษณะการใช้งาน
3-3 หมวดการเชื่อม
– การเชื่อมแบบซิลด์เมทอลอาร์กเวลดิ้ง
– ตารางแสดงคุณสมบัติของลวดเชื่อมยี่ห้อต่างๆ
– ตารางแสดงลวดเชื่อมที่เหมาะสมสำหรับโลหะชนิดต่างๆ
– ตารางแสดงฟลั๊กที่เหมาะสม
– ตารางแสดงระยะห่างของข้อเชื่อมที่เหมาะสมที่อุณหภูมิเชื่อม
3-4 หมวดสลักเกลียว ตะปูควง
3-5 หมวดค่าความหนืด
– ค่าความหนืด
3-6 หมวดถัง
– ปริมาตรถังกลม
– ตารางเปอร์เซ็นต์ปริมาตรถังกลม
– ตารางปริมาตรเต็มภายในถังกลม
– การหาปริมาตรหัวถัง วางแนวนอน
– ตารางเปอร์เซ็นต์ปริมาตรถังนอนทรงกลมยาว
– ตารางเปอร์เซ็นต์ปริมาตรความจุของถังนอนทรงกลมยาว
– โนโมกราฟสำหรับใช้หาความหนาของหัวถังความดัน
– การหาความหนาของถัง โดยคำนวณจากความดันภายใน (สูตรคิดจากมิติภายนอกถัง)
– ตารางแสดงประสิทธิภาพ (E) ของรอยเชื่อม
– ชนิดของรอยเชื่อม
– คุณสมบัติของ carbon & low alloy steel
– การหาความหนาของถัง โดยคำนวณจากความดันภายนอก
3-7 หมวดการเผาไหม้
– ความร้อนสูญเสียเนื่องจากเผาเชื้อเพลิงไม่หมด
– ความร้อนสูญเสียเนื่องจากอุณหภูมิของผลิตผลจากการเผาไหม้
– ความร้อนสูญเสียเนื่องจากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์
– ความร้อนสูญเสียไปกับความชื้นในแก๊สเผาไหม้
– ความร้อนสูญเสียไปกับแก๊สภายหลังการเผาไหม้
– ปริมาณอากาศและคาร์บอนไดออกไซด์กับการเผาไหม้
– average heating valve ของเชื้อเพลิงชนิดต่างๆ และ energy equivalent to NG2
3-8 หมวดก๊าซแอลพีจี
– คุณสมบัติของก๊าซแอลพีจี
– ช่วงการลุกไหม้
– หมวดข้อกำหนดเกี่ยวกับการตั้งถังเชื้อเพลิงและแก๊ส
– สรุปข้อกำหนดเกี่ยวกับการเก็บและสถานที่เก็บน้ำมันเชื้อเพลิงฯ
– ข้อกำหนดเกี่ยวกับการตั้งถังน้ำมันเชื้อเพลิงและถังแก๊ส
– ข้อกำหนดเกี่ยวกับการตั้งถังลอยใหญ่
– ระบบการใช้ก๊าซในอุตสาหกรรม
– อุปกรณ์บนถังก๊าซ
– ท่อส่งก๊าซ ลิ้น และอุปกรณ์
– ระยะห่างระหว่างถัง
– การทดสอบระบบก๊าซก่อนการใช้งาน
– รูปแสดงข้อกำหนดการตั้งถังออกซิเจน
– การใช้ก๊าซจากถังก๊าซหุงต้มในสถานที่จำหน่ายอาหารที่ใช้ก๊าซ
– สถานที่จำหน่ายอาหารที่ใช้ก๊าซที่มีปริมาณเกิน 500 ลิตร (250 kg)
– สถานที่ใช้ก๊าซที่ไม่ใช่โรงงานตามกฏหมายว่าด้วยโรงงาน
– สถานที่ใช้ก๊าซที่เป็นโรงงานตามกฏหมายว่าด้วยโรงงาน
– Schedule of Cylinder Date
ภาคที่ 4 Acoustic
– พื้นฐานของ Acoustic
– An Introduction to Architectural (Building) Acoustic
– Duct Silencers
– How To Designate TYPE LFS
– How To Designate TYPE LFM
– How To Designate TYPE LFL
– How To Designate TYPE FCS
– How To Designate TYPE FCL
– How To Designate TYPE S
– How To Designate TYPE MS
– How To Designate TYPE ML
– How To Designate TYPE L
– How To Designate TYPE CS/CL
– How To Designate TYPE NS/NL