คุณภาพไฟฟ้า ชุดที่ 2

คุณภาพไฟฟ้า ชุดที่ 2รหัสหนังสือ: BM 12202 ชื่อหนังสือ: คุณภาพไฟฟ้า ชุดที่ 2
ISBN 978-974-686-107-6
ผู้แต่ง เอ็มแอนด์อี บจ.
ขนาด 18.5 x 26.0 ซ.ม.
จำนวนหน้า 284
กระดาษ ปอนด์
ราคา 235 บาท
ลด 40% เหลือ 141 บาท

คุณภาพไฟฟ้า ชุดที่ 2 รวบรวมบทความที่น่าสนใจทางด้านคุณภาพไฟฟ้า ที่พิมพ์ในวารสารเทคนิค และวารสาร EC โดยแบ่งเป็นหกหมวด คือ 1. คุณภาพไฟฟ้า 2. แรงดันไฟตก-เพิ่ม, การรบกวน 3. ฮาร์มอนิก 4. ยูพีเอส 5. คาปาซิเตอร์, ตัวประกอบกำลัง 6. การต่อลงดิน, การป้องกันฟ้าผ่า ตัวอย่างชื่อบทความ เช่น

คุณภาพไฟฟ้าและการประหยัดพลังงาน, ความน่าเชื่อถือในคุณภาพไฟฟ้า, รูปแบบของแรงดันตกช่วงสั้นในระบบไฟฟ้า, วางแผนตั้งรับไฟตกและไฟกระชากอย่างไรดี, การเลือกขนาดสายนิวทรัลให้ปลอดภัยจากฮาร์มอนิก, การกำจัดฮาร์มอนิก และการประยุกต์ใช้ในมอเตอร์เหนี่ยวนำ, เทคนิคของระบบยูพีเอสจะเลือกแบบไหนดี, โหลดไฟฟ้าชนิดตัวประกอบกำลัง Leading กับการออกแบบ UPS, การแก้ไขค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า, ระบบการป้องกันฟ้าผ่าสำหรับสิ่งปลูกสร้าง, ผลกระทบจากฟ้าผ่าที่มีต่อคุณภาพกำลังไฟฟ้า

สารบัญ
1.
คุณภาพไฟฟ้า
– 
คุณภาพไฟฟ้าและการประหยัดพลังงาน
– ความน่าเชื่อถือในคุณภาพไฟฟ้า (1) การจัดระดับชั้นและปรากฏการณ์รบกวนคุณภาพไฟฟ้า
– ความน่าเชื่อถือในคุณภาพไฟฟ้า (2) แรงดันไฟฟ้าตกชั่วขณะ ไฟฟ้าดับ และทรานเซียนต์
– ความน่าเชื่อถือในคุณภาพไฟฟ้า (3) (จบ) ฮาร์มอนิก และความเชื่อถือได้
2. แรงดันไฟตก-เพิ่ม, การรบกวน
– 
รูปแบบของแรงดันตกช่วงสั้นในระบบไฟฟ้า
– ระดับความเข้ากันได้ของการรบกวนในช่วงความถี่ต่ำในระบบไฟฟ้าแรงดันต่ำตามมาตรฐาน IEC 6100-2-2
– อะไรจะเปลี่ยนไป ถ้าใช้แรงดันไม่ตรงพิกัด
– ปัญหาทางด้านคุณภาพกำลังไฟฟ้า
– วางแผนตั้งรับไฟตกและไฟกระชากอย่างไรดี
3. ฮาร์มอนิก
– 
การเลือกขนาดสายนิวทรัลให้ปลอดภัยจากฮาร์มอนิก
– ฮาร์มอนิก แหล่งกำเนิดและการแก้ปัญหาให้ชุดขับมอเตอร์
– การกำจัดฮาร์มอนิก และการประยุกต์ใช้ในมอเตอร์เหนี่ยวนำ
4. ยูพีเอส
– 
เทคนิคของระบบยูพีเอสจะเลือกแบบไหนดี
– จ่ายกำลังไฟฟ้าให้ต่อเนื่องไม่ง่ายอย่างที่คิด
– รู้จัก UPS (1) โครงสร้างการทำงานและคุณภาพแรงดันขาออก
– รู้จัก UPS (2) ข้อมูลทางเทคนิค
– โหลดไฟฟ้าชนิดตัวประกอบกำลัง Leading กับการออกแบบ UPS
5. คาปาซิเตอร์, ตัวประกอบกำลัง
– 
การแก้ไขค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า (1)
– การแก้ไขค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า (2)
– การแก้ไขค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า (3) (จบ)
6. การต่อลงดิน, การป้องกันฟ้าผ่า
– 
การติดตั้งระบบสายดินและเครื่องตัดไฟรั่ว
– ระบบการป้องกันฟ้าผ่าสำหรับสิ่งปลูกสร้าง
– การป้องกันฟ้าผ่าสำหรับระบบ SCADA
– ผลกระทบจากฟ้าผ่าที่มีต่อคุณภาพกำลังไฟฟ้า
– ระบบต่อลงดิน (1) ชนิดของหลักดิน การออกแบบ และทดสอบความต้านทานดิน
– ระบบต่อลงดิน (2) การทดสอบความต้านทานระบบหลักดินที่มีอยู่เดิม และศักย์ต่อลงดินที่ยกสูงขึ้น
– ระบบต่อลงดิน (3) (จบ) การต่อลงดินของระบบ และการต่อลงดินของอุปกรณ์
– การวิเคราะห์และผลกระทบของระบบไฟฟ้าที่ไม่สมดุล