วิศวกรรมระบบท่ออุตสาหกรรม

วิศวกรรมระบบท่ออุตสาหกรรมรหัสหนังสือ: 10306   ชื่อหนังสือ: วิศวกรรมระบบท่ออุตสาหกรรม
ISBN 9746860682
ผู้แต่ง น.ท.ตระการ ก้าวกสิกรรม
ขนาด 18.5 x 26.0 ซ.ม.
จำนวนหน้า 448
ราคาปก 470 บาท

ระบบท่อถือได้ว่ามีอยู่แทบทุกโรงงานอุตสาหรรมที่เดียว ซึ่งเป็นระบบหนึ่งที่มีความสำคัญ เพราะถ้าหากมีการออกแบบ และวางระบบท่อไม่มีประสิทธิภาพแล้ว จะส่งผลกระทบต่อกระบวนการผลิต และระบบอื่นๆ อีกมาก ทำให้เสียค่าใช้จ่ายมากขึ้น

ดังนั้นการที่จะออกแบบระบบให้ทำงานได้อย่างราบรื่น มีประสิทธิภาพ จะต้องเข้าใจถึง องค์ประกอบของระบบท่อ อย่างครบถ้วน

หนังสือเล่มนี้ได้นำเสนอสาระที่จะเป็นประโยชน์ต่อการออกแบบ และการวางระบบท่อ เพื่อให้ผู้ออกแบบ และผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้พิจารณานำไปใช้อย่างเหมาะสม โดยมีหัวข้อหลัก คือ แนวคิดเบื้องต้นและพื้นฐานการคำนวณ, การวางผังระบบท่อ, การวางแนวท่อ, การจัดทำแบบแปลนระบบท่อ, วาล์ว, ระบบท่อของอุปกรณ์ในกระบวนการผลิต, การตรวจสอบ และบำรุงรักษาระบบท่อ นอกจากนี้ ยังมีภาคผนวก ซึ่งมีตาราง และข้อมูลเกี่ยวกับ การแปลงหน่วย, คุณสมบัติของการไหล, ตารางท่อ, ตารางข้อต่อ และวาล์ว, หน้าแปลน, รูปแบบเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน, การวัดขนาด, เหล็กกล้าโครงสร้าง, ขนาดกระดาษเขียนแบบ, น้ำหนักของวัสดุ, คุณสมบัติของวัสดุเหล็กกล้าคาร์บอน และวัสดุผสมค่า, สรุปข้อบังคับที่สำคัญของโค้ดระบบท่อ ที่เกี่ยวข้องกับความหนาของผนังท่อ และความดันที่ยอมให้ได้

หนังสือเล่มนี้จึงเป็นอีกเล่มหนึ่งที่พลาดไม่ได้ สำหรับผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบท่ออุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็นวิศวกรโครงการ วิศวกรผลิต วิศวกรระบบท่อ วิศวกรอุปกรณ์วัดคุม

สารบัญ

บทที่ 1 : แนวคิดเบื้องต้นและพื้นฐานการคำนวณ

1.1 คำจำกัดความและคุณลักษณะของท่อโดยทั่วไป

1.2 แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับระบบท่อ

1.3 ความหนืดของของไหล

1.4 สมการพื้นฐานทางกลศาสตร์ของไหล

1.5 การสูญเสียความดันในระบบท่อของเหลว

1.6 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อที่ประหยัด

1.7 พฤติกรรมของระบบท่อ

1.8 วัสดุท่อและการเลือกใช้งาน

1.8.1 ท่อโลหะ

1.8.2 ท่อพลาสติก

1.9 สรุป

บทที่ 2 : การวางผังระบบท่อ

2.1 แผนภาพระบบงาน

2.2 แผนภาพการไหลของกระบวนการ

2.3 แผนภาพการไหลทางวิศวกรรม หรือแผนภาพระบบท่อและอุปกรณ์เครื่องมือวัด

2.4 ข้อกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ

2.5 ภาพระดับของอุปกรณ์

2.6 แนวทางการจัดวางผังระบบท่อ

2.7 หลักการวางผังอุปกรณ์บนแบบแปลนพล็อต

2.7.1 เส้นทางการไหลของกระบวนการหลัก

2.7.2 เส้นทางการเชื่อมต่อกันของอุปกรณ์

2.7.3 การกำหนดตำแหน่งสำหรับการเดินท่อให้สั้นที่สุด

2.7.4 โครงสร้าง

2.7.5 การปฏิบัติงานและการบำรุงรักษา

2.7.6 ความประหยัดในการเดินระบบท่อราง

2.7.7.ค่าใช้จ่ายและแผนภาพระดับของอุปกรณ์

2.7.8 ความประหยัดในการออกแบบระบบท่อ

2.7.9 การเดินระบบท่อเข้ากับอุปกรณ์ต่างๆ

2.8 สรุป

บทที่ 3 : การวางแนวท่อ

3.1 การออกแบบวางแนวท่อ

3.1.1 การจัดวางระบบท่อ

3.1.2 ความเค้นบนระบบท่อ

3.1.3 การควบคุมอุณหภูมิ

3.1.4 การกำจัดสารควบแน่นและอากาศ

3.1.5 วาล์วและวาล์วควบคุม

3.1.6 อุปกรณ์เครื่องมือวัด

3.2 การออกแบบรางรับท่อ

3.2.1 ข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นในการออกแบบการวางรางรับท่อ

3.2.2 การวางผังระบบท่อราง

3.2.3 การวางตำแหน่งเส้นท่อบนรางรับท่อ

3.2.4 ระดับความสูงของรางรับท่อ

3.2.5 การประหยัดในระดับท่อราง

3.2.6 โครงสร้างการหนุนรับในระบบท่อราง

3.3 ส่วนหนุนรับท่อ

3.3.1 ลักษณะของส่วนหนุนรับท่อและการใช้งาน

3.3.2 การจัดวางส่วนหนุนรับท่อ

3.4 การประกอบท่อ

3.4.1 การต่อท่อ

3.4.2 การต่อท่อแบบเชื่อมต่อชน

3.4.3 การต่อท่อแบบเชื่อมสวมปลอก

3.4.4 การต่อท่อแบบขันเกลียว

3.4.5 การต่อท่อแบบสลักเกลียวยึดหน้าแปลน

3.4.6 การต่อท่อแบบสลักเกลียวยึดคับปลิง

3.4.7 ข้อต่อขยายตัว

3.4.8 รูปแบบชิ้นส่วนที่ใช้ในการต่อท่อแบบต่างๆ

3.4.9 กระบวนการประกอบท่อ

3.5 สรุป

บทที่ 4 : การจัดทำแบบแปลนระบบท่อ

4.1 สัญลักษณ์ในการเขียนแบบระบบท่อ

4.1.1 สัญลักษณ์ทั่วไปสำหรับการเขียนแบบทางวิศวกรรม

4.1.2 สัญลักษณ์ในระบบท่อและวาล์ว

4.1.3 สัญลักษณ์อุปกรณ์ในกระบวนการผลิตทั่วไป

4.1.4 สัญลักษณ์สำหรับงานเชื่อม

4.1.5 อักษรย่อสำหรับแบบแปลนระบบท่อ

4.2 การแสดงมิติและขนาดในแบบแปลนระบบท่อ

4.2.1 การแสดงมิติจากจุดอ้างอิง

4.2.2 การแสดงมิติบนแบบแปลนระบบท่อ

4.2.3 แนวทางสำหรับการแสดงมิติบนแบบแปลนระบบท่อโดยรวม

4.3 แบบแปลนระบบท่อ

4.3.1 แบบแปลนอื่นๆ ที่มีผลต่อการจัดทำแบบแปลนระบบท่อ

4.3.2 หลักการจัดทำแบบแปลนระบบท่อ

4.4 แบบแปลนไอโซเมตริก

4.4.1 ชนิดของแบบแปลนไอโซเมตริก

4.4.2 แบบแปลนสพูลหรือแบบแปลนสำหรับการประกอบท่อ

4.4.3 การกำหนดหมายเลขไอโซ แผ่นสพูล และสพูล

4.4.4 สัญลักษณ์แบบแปลนไอโซเมตริก

4.4.5 การเขียนแบบไอโซเมตริก

4.5 การแสดงรายการวัสดุระบบท่อบนแบบแปลน

4.5.1 แบบฟอร์มของการแสดงรายการวัสดุ

4.5.2 แบบแผนในการแสดงรายการวัสดุ

4.5.3 การแสดงรายละเอียดชิ้นงาน

4.5.4 จุดตรวจสอบเมื่อจัดทำรายการวัสดุ

4.6 การเขียนแบบอุปกรณ์หนุนรับท่อ

4.6.1 แบบแปลนรายละเอียดอุปกรณ์หนุนรับท่อ

4.6.2 ภาพรายละเอียด (Detail view)

4.6.3 รายละเอียดระบบท่อ (Piping detail)

4.6.4 แปลนกำหนดตำแหน่ง (Location plan)

4.6.5 รายการวัสดุ (Bill of material)

4.7 การตรวจสอบแบบแปลน

4.8 การแจกจ่ายแบบแปลน

4.9 สรุป

บทที่ 5 : วาล์ว

5.1 หน้าที่ของวาล์ว

5.1.1 การเริ่มการไหลและหยุดการไหล

5.1.2 การปรับระดับการไหล

5.1.3 การป้องกันการไหลย้อนกลับ

5.1.4 การปรับลดความดัน

5.1.5 การระบายความดัน

5.1.6 การเปลี่ยนทิศทางการไหล

5.2 ส่วนประกอบของวาล์ว

5.2.1 ตัวเรือนวาล์ว

5.2.2 ลิ้นและบ่ารองลิ้น

5.2.3 ก้านวาล์ว

5.2.4 บอนเน็ต

5.2.5 อุปกรณ์ขับวาล์ว

5.2.6 วาล์วทริม (valve trim)

5.2.7 คำย่อของวาล์ว

5.3 การจำแนกประเภทวาล์ว

5.3.1 การจำแนกประเภทวาล์วตามชนิด

5.3.2 การจำแนกตามหน้าที่การใช้งาน

5.4 ลักษณะของวาล์วแต่ละชนิดและการเลือกใช้งาน

5.4.1 สภาวะการใช้งาน

5.4.2 วัสดุโครงสร้างวาล์ว

5.4.3 วัสดุทริม

5.4.4 ลักษณะรูปแบบวาล์วโดยทั่วไป

5.4.5 วาล์วที่มีลักษณะพิเศษต่างๆ

5.5 เช็ควาล์ว

5.5.1 เช็ควาล์วลิ้นกระดก

5.5.2 เช็ควาล์วลิ้นยก

5.5.3 บอลเช็ควาล์ว

5.5.4 ฟุตวาล์ว

5.5.5 เช็ควาล์วหน่วงการปิด

5.5.6 เช็ควาล์วปีกผีเสื้อ

5.6 วาล์วควบคุม

5.6.1 วาล์วควบคุมการไหล

5.6.2 อุปกรณ์ปรับควบคุม

5.7 วาล์วระบายและวาล์วนิรภัย

5.7.1 รูปแบบโครงสร้าง

5.7.2 พารามิเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับการใช้งานวาล์วนิรภัย

5.7.3 ความแตกต่างของการออกแบบ

5.7.4 การออกแบบโดยทั่วไป

5.7.5 วาล์วระบายนิรภัยชนิดกลไกนำ

5.8 วาล์วปรับลดทำงานด้วยตนเอง

5.8.1 การประยุกต์ใช้งานวาล์วปรับลด

5.8.2 ขนาดของท่อและข้อต่อ

5.8.3 การใช้กับดักไอน้ำ

5.8.4 ข้อต่อของท่อสมดุล

5.8.5 วาล์วปรับลดจัดขนานกัน

5.8.6 ไอน้ำยิ่งยวด

5.9 วาล์วระบายอากาศ

5.10 กับดักไอน้ำและสเตรนเนอร์

5.10.1 ชนิดของกับดักไอน้ำ

5.10.2 สเตรนเนอร์

5.11 สรุป

บทที่ 6 : ระบบท่อของอุปกรณ์ในกระบวนการผลิต

6.1 ระบบท่อวาล์วนิรภัย

6.1.1 ชนิดของของไหลในระบบ

6.1.2 ปลั๊กรูระบาย

6.1.3 การหนุนรับระบบท่อ

6.2 ระบบท่อสำหรับอุปกรณ์เครื่องมือวัด

6.2.1 การเชื่อมต่ออุปกรณ์เครื่องมือวัดกับเส้นท่อและอุปกรณ์

6.2.2 การเชื่อมต่ออุปกรณ์วัดอุณหภูมิและความดัน

6.2.3 การเชื่อมต่อมาตรวัดระดับ

6.2.4 การเชื่อมต่ออุปกรณ์วัดอัตราการไหลชนิดโรตามิเตอร์และชนิดแผ่นออริฟิซ

6.3 ระบบท่อสำหรับปั๊ม

6.3.1 เฮดของปั๊ม

6.3.2 เฮดด้านทางดูดบวกสุทธิ

6.3.3 ความสัมพันธ์ระหว่างความดันกับเฮด

6.3.4 เฮดความเร็ว

6.3.5 ระบบท่อโดยทั่วไปสำหรับปั๊มหอยโข่ง

6.3.6 การติดตั้งปั๊ม

6.3.7 การเลือกใช้วาล์ว

6.3.8 เส้นท่อด้านดูด

6.3.9 เส้นท่อด้านทางออก

6.3.10 ระบบท่อสำหรับปั๊มที่มีการไหลเป็นห้วงๆ

6.3.11 ความหมายของหมายเลข

6.4 ระบบท่อสำหรับคอมเพรสเซอร์

6.4.1 ชนิดของคอมเพรสเซอร์

6.4.2 อุปกรณ์ประกอบสำหรับคอมเพรสเซอร์

6.4.3 ขนาดเส้นท่อสำหรับการดูดอากาศและจ่ายอากาศ

6.4.4 อาคารสำหรับคอมเพรสเซอร์

6.4.5 การวางแนวท่อและการติดตั้งคอมเพรสเซอร์

6.4.6 ระบบท่อด้านดูดสำหรับคอมเพรสเซอร์อัดอากาศ

6.4.7 ระบบท่อด้านทางออกของคอมเพรสเซอร์

6.4.8 การใช้งานอากาศอัด

6.5 ระบบท่อสำหรับถังรับแรงดัน

6.5.1 การเชื่อมต่อถังกับระบบท่อ

6.5.2 ท่อต่อที่จำเป็นกับถัง

6.5.3 สภาวะยืดหยุ่นของท่อที่ต่อกับท่อต่อของถัง

6.5.4 ภาระแรงของท่อต่อ

6.6 ระบบท่อสำหรับเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน

6.6.1 ข้อมูลที่จำเป็นต่อการวางแผนระบบท่อสำหรับเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน

6.6.2 ตัวบ่งชี้การออกแบบ

6.7 สรุป

บทที่ 7 : การตรวจสอบและบำรุงรักษาระบบท่อ

7.1 การตรวจสอบวาล์ว

7.2 การตรวจสอบงานท่อ

7.2.1 การตรวจสอบงานท่อโลหะ

7.2.2 การตรวจสอบงานท่อพลาสติก

7.3 การตรวจสอบและทดสอบระบบท่อ

7.4 การทดสอบการรั่วไหล

7.4.1 อัตราการไหล

7.4.2 ผลกระทบของความดันทดสอบต่ออัตราการรั่วไหล

7.4.3 ผลกระทบของชนิดของก๊าซต่ออัตราการรั่วไหล

7.4.4 การหาตำแหน่งการรั่วไหลด้วยวิธีความดัน

7.4.5 การตรวจวัดอัตราการรั่วไหลด้วยวิธีความดัน

7.5 การบำรุงรักษาระบบท่อ

7.5.1 การทำความสะอาดเส้นท่อ

7.5.2 การตรวจสภาพระบบท่อ

7.6 สรุป

ภาคผนวก

ผนวก (ก) การแปลงหน่วย

ผนวก (ข) คุณสมบัติของการไหล

ผนวก (ค) ตารางท่อ

ผนวก (ง) ตารางข้อต่อและวาล์ว

ผนวก (จ) หน้าแปลน

ผนวก (ฉ) รูปแบบเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน

ผนวก (ช) การวัดขนาด

ผนวก (ฌ) เหล็กกล้าโครงสร้าง

ผนวก (ญ) ขนาดกระดาษเขียนแบบ

ผนวก (ฎ) น้ำหนักของวัสดุ

ผนวก (ฏ) คุณสมบัติของวัสดุเหล็กกล้าคาร์บอน & วัสดุผสมต่ำ

ผนวก (ฐ) สรุปข้อบังคับที่สำคัญของโคดของระบบท่อที่เกี่ยวกับความหนาของผนังท่อ และความดันที่ยอมให้ได้