หนังสือคู่มือการลดค่าไฟฟ้า

รหัสหนังสือ: 12014 ชื่อหนังสือ: คู่มือการลดค่าไฟฟ้า
ISBN 9746860674
ผู้แต่ง อ.ไชยะ แช่มช้อย
ขนาด 18.5 x 26.0 ซ.ม.
จำนวนหน้า 280
ราคาปก 270 บาท
ลดพิเศษ 40 % เหลือ 162 บาท

ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา มีการตื่นตัวในเรื่องของ การอนุรักษ์พลังงานอย่างมาก มีหน่วยงานหลายแห่ง ได้ผลิตเอกสารให้ความรู้ จัดประชาสัมพันธ์ ตลอดจนจัดฝึกอบรม ในเรื่องอนุรักษ์พลังงานที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้า แต่อย่างไรก็ดี จากการที่ผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ มีประสบการณ์จากการทำหน้าที่ วิทยากรบรรยายพิเศษ เรื่องการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า ทำให้พบว่า “การลดค่าไฟฟ้า ยังเป็นเรื่องที่สามารถทำได้อีกมาก” เพราะผู้บริหารหน่วยงาน วิศวกร และช่างไฟฟ้าที่ดูแลรับผิดชอบระบบไฟฟ้า ตลอดจนผู้เกี่ยวข้อง อาจจะยังไม่ทราบว่า “การคิดค่าไฟฟ้า เขาคิดกันอย่างไร” “ไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นลดค่าไฟฟ้าอย่างไร” “ไม่แน่ใจว่าสิ่งที่จะทำนั้นถูกต้องหรือไม่” ฯลฯ

ผู้เขียนจึงได้พยายามเรียบเรียงหนังสือนี้ขึ้นมา โดยแบ่งเนื้อหากออกเป็นสองส่วน คือ 1. การลดค่าไฟฟ้า โดยการควบคุมความต้องการพลังไฟฟ้า และ 2. การเพิ่มสมรรถนะของระบบไฟฟ้า ด้วยการเพิ่มค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ นอกจากนี้ ยังมีภาคผนวก ซึ่งมีข้อมูลเกี่ยวกับ อัตราค่าไฟฟ้า, รายละเอียดของข้อมูล จากหนังสือแจ้งค่าไฟฟ้า

เนื้อหาแต่ละส่วนได้อธิบายรายละเอียดไว้อย่างเป็นระบบ จนพอมั่นใจได้ว่า ผู้อ่านสามารถทำความเข้าใจด้วยตนเอง สามารถที่จะตรวจสอบการใช้ไฟฟ้า และปฏิบัติการลดค่าไฟฟ้าให้ดียิ่งขึ้น

หนังสือเล่มนี้ จึงเป็นหนังสือที่ไม่น่าพลาด สำหรับผู้ที่เกี่ยวข้อง และดูแลเกี่ยวกับการใช้ไฟฟ้า ไม่ว่าจะเป็นวิศวกร และช่างเทคนิค ผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรม ผู้ดูแลระบบอาคาร ฯลฯ

สารบัญ
ส่วนที่ 1 : การลดค่าไฟฟ้าโดยการควบคุมความต้องการพลังไฟฟ้า
1.1 การกำหนดประเภทผู้ใช้ไฟฟ้า
1.2 ส่วนประกอบของ
1.3 ค่าไฟฟ้า
1.4 รูปแบบอัตราค่าไฟฟ้า
1.3.1 อัตราค่าไฟฟ้า 1 ส่วน (One – Part Tariff)
1.3.2 อัตราค่าไฟฟ้า 2 ส่วน (Two – Part Tariff)
1.3.3 อัตราค่าไฟฟ้าตามช่วงเวลาของวัน (TOD Rate)
1.3.4 อัตราค่าไฟฟ้าตามช่วงเวลาของการใช้ (TOU Rate)
1.4 อัตราค่าไฟฟ้า
1.4.1 อัตราค่าไฟฟ้าแบบอัตราปกติ
1.4.2 อัตราค่าไฟฟ้าตามช่วงเวลาของวัน (TOD)
1.4.3 อัตราค่าไฟฟ้าตามช่วงเวลาของการใช้ (TOU)
1.5 การคิดค่าไฟฟ้า
1.5.1 อัตราปกติ
1.5.2 อัตราตามช่วงเวลาของวัน (TOD)
1.5.3 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (TOU)
1.6 แนวทางการลดค่าไฟฟ้าเบื้องต้น
1.6.1 กลุ่มผู้ใช้ไฟฟ้าที่เสียค่าไฟฟ้าตามอัตราค่าไฟฟ้าแบบ 1 ส่วน
1.6.2 กลุ่มผู้ใช้ไฟฟ้าที่เสียค่าไฟฟ้าตามอัตราปกติ (อัตราค่าไฟฟ้าแบบ 2 ส่วน)
1.6.3 กลุ่มผู้ใช้ไฟฟ้าที่เสียค่าไฟฟ้าตามอัตราตามช่วงเวลาของวัน (TOD)
1.6.4 กลุ่มผู้ใช้ไฟฟ้าที่เสียค่าไฟฟ้าตามอัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (TOU)
1.7 ตัวประกอบโหลดหรือโหลดแฟคเตอร์ (Load Factor)
1.8 ความสัมพันธ์ของค่าไฟฟ้ากับลักษณะการใช้ไฟฟ้า
1.8.1 อัตราปกติ
1.8.2 อัตราตามช่วงเวลาของวัน (TOD)
1.8.3 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (TOU)
1.8.4 อัตราปกติ
1.8.5 อัตราตามช่วงเวลาของวัน (TOD)
1.8.6 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (TOU)
1.9 แนวทางการลดค่าไฟฟ้า
1.9.1 อัตราปกติ
1.9.2 อัตราตามช่วงเวลาของวัน (TOD)
1.9.3 อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (TOU)
1.10 การประเมินศักยภาพการลดค่าไฟฟ้า
1.10.1 ผู้ใช้ไฟฟ้าอัตราปกติ
1.10.2 ผู้ใช้ไฟฟ้าตามอัตราตามช่วงเวลาของวัน (TOD)
1.10.3 ผู้ใช้ไฟฟ้าตามอัตราตามช่วงเวลาของการใช้ (TOU)
1.11 การเลือกอัตราค่าไฟฟ้าที่เหมาะสม
1.11.1 การเปลี่ยนจากอัตราปกติเป็นอัตรา TOU
1.11.2 การเปลี่ยนจากอัตรา TOD เป็นอัตรา TOU
1.11.3 การเปลี่ยนจากอัตราปกติเป็นอัตรา TOU
1.11.4 การเปลี่ยนจากอัตรา TOD เป็นอัตรา TOU
1.11.5 การหาค่า E1 ที่ใช้ไปจริง
1.11.6 สรุป
1.12 การวัดความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด
1.13 การหาข้อมูลการใช้ไฟฟ้ารายวันหรือการหาเส้นโค้งของโหลดรายวัน (Daily Load Curve)
1.14 การหาข้อมูลการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้า
1.15 ขั้นตอนการดำเนินการควบคุมความต้องการพลังไฟฟ้า
1.16 วิธีการควบคุมความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด
1.17 เครื่องควบคุมความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด (Maximum Demand Controller)
1.18 สรุป

ส่วนที่ 2 : การเพิ่มสมรรถนะของระบบไฟฟ้าด้วยการเพิ่มค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
2.1 เพาเวอร์แฟคเตอร์ของโรงงานอุตสาหกรรม
2.2 หลักเบื้องต้นเกี่ยวกับค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
2.3 คำจำกัดความของเพาเวอร์แฟคเตอร์
2.4 ประโยชน์จากการเพิ่มค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
2.4.1 กระแสไฟฟ้าที่ไหลอยู่ในวงจรไฟฟ้าจะลดลง
2.4.2 ระบบไฟฟ้าสามารถรับโหลดได้มากขึ้น
2.4.3 ระบบไฟฟ้าสามารถจ่ายโหลดที่เป็นกำลังจริงได้มากขึ้น
2.4.4 ลดกำลังงานสูญเสียในระบบไฟฟ้า
2.4.5 ลดแรงดันตกและเพิ่มความสามารถของสายส่งไฟฟ้า
2.4.6 ลดแรงดันตกในหม้อแปลงไฟฟ้า
2.4.7 ลดกำลังสูญเสียในหม้อแปลง
2.4.8 ลดค่าไฟฟ้า
2.5 การเพิ่มค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
2.6 ขนาดของกำลังงานรีแอคตีฟที่ใช้ปรับปรุงค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์
2.7 ตำแหน่งที่ติดตั้งตัวเก็บประจุ
2.8 การเลือกขนาดของตัวเก็บประจุ
2.8.1 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป
2.8.2 หม้อแปลง
2.8.3 มอเตอร์เหนี่ยวนำ
2.8.4 หลอดไฟฟ้าแบบปล่อยประจุในก๊าซ
2.8.5 เครื่องกำเนิดไฟฟ้าขับด้วยเครื่องยนต์ดีเซล
2.8.6 เครื่องเชื่อมไฟฟ้าแบบอาร์ก
2.9 การเลือกขนาดสายไฟฟ้า ฟิวส์หรือเซอร์กิตเบรกเกอร์ และคอนแทคเตอร์แม่เหล็ก
2.10 ความเสียหายในระบบไฟฟ้าที่เกิดจากสภาวะเรโซแนนซ์
2.10.1 ปรากฎการณ์เรโซแนนซ์
2.10.2 ตัวอย่างความเสียหาย
2.10.3 การประเมินความเสียหายที่เกิดกับตัวเก็บประจุ
2.11 การประยุกต์ใช้ตัวกรองดีจูน
2.11.1 การประยุกต์ใช้วงจรอนุกรม RLC
2.11.2 ตัวกรองดีจูน
2.11.3 การประยุกต์ใช้ตัวกรองดีจูน
2.11.4 ข้อสรุปที่สำคัญจากผลการวิเคราะห์การไหลของกระแสฮาร์มอนิก
2.12 การปรับตั้งค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ที่เหมาะสม
2.12.1 ขนาดของตัวเก็บประจุที่จำเป็นต้องใช้
2.12.2 ผลตอบแทนที่ได้รับจากการใช้ตัวเก็บประจุ
2.13 การกำหนดขนาดของตัวกรองดีจูน
2.13.1 การกำหนดขนาดกระแสพิกัด
2.13.2 การเลือกขนาดตัวเก็บประจุ
2.13.3 ความสำคัญของตัวกรองดีจูน
2.13.4 รายละเอียดการออกแบบ
ภาคผนวก ก. อัตราค่าไฟฟ้า
ภาคผนวก ข. รายละเอียดของข้อมูลจากหนังสือแจ้งค่าไฟฟ้า
บรรณานุกรม
ดัชนี